• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:33dedf2713fb5b47ee4566dab8fd4ab6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><u>ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์</u></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n     เป็นการหาว่าโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวเท่ากับเท่าใด <br />\nหรือเหตุการณ์ดังกล่าวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นกี่เปอร์เซนต์นั้นเอง <br />\nเช่น ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูกโอกาสที่ลูกเต๋าจะหงายแต้มเป็นจำนวนคู่ มีค่าเท่ากับเท่าใด <br />\nโดยสามัญสำนึกจะตอบได้ว่ามีโอกาส 50%  หรือมีโอกาส 3 ใน 6 เป็นต้น<br />\nถ้านำมาเรียบเรียงใหม่ให้ดีจะพบว่า โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว\n</p>\n<p>\n<br />\nนิยามถ้า S เป็นแซมเปิลสเปซซึ่งเป็นเซตจำกัด ซึ่งแต่ละผลลัพธ์ใน S <br />\nมีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และ E เป็นเหตุการณ์<br />\nซึ่ง E   S และ P(E) แทนความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E และจะได้\n</p>\n<p>\n<u>หลักการหาความน่าจะเป็น  ดังนี้</u>\n</p>\n<p>\nP(E) คือสัญลักษณ์แทนความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E<br />\nP(E) =   n(E)   = จำนวนของสมาชิกในเหตุการณ์  E<br />\nn(S)       จำนวนของสมาชิกในแซมเปิลสเปซ S\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><u>สมบัติของความน่าจะเป็น</u></strong>\n</p>\n<p>\n1.    0&lt; P(E) &lt; 1<br />\n2.   ถ้า E = Ø แล้ว   P(E) = 0 คือ P(Ø) = 0<br />\n3.   ถ้า E = S แล้ว   P(E) = 1 นั่นคือ  P(S) = 1<br />\n4.   P(AUB) = P(A)+P(B) - P(A  B)<br />\n5.   P(A) = 1 - P(A\')   หรือ  P(A\')=1-P(A)<br />\n6.   P(AUBUC) = P(A)+P(B)+P(C)-P(A  B)-P(B  C)-P(A  C)+P(A  B  C)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/45423\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19250/BACK.jpg\" height=\"45\" width=\"100\" /></a>                           <a href=\"/node/44538\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19250/HOME.jpg\" height=\"38\" width=\"150\" /> </a>                     <a href=\"/node/46830\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19250/NEXT.jpg\" height=\"45\" width=\"100\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728213880, expire = 1728300280, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:33dedf2713fb5b47ee4566dab8fd4ab6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ 3

 

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์


     เป็นการหาว่าโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวเท่ากับเท่าใด
หรือเหตุการณ์ดังกล่าวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นกี่เปอร์เซนต์นั้นเอง
เช่น ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูกโอกาสที่ลูกเต๋าจะหงายแต้มเป็นจำนวนคู่ มีค่าเท่ากับเท่าใด
โดยสามัญสำนึกจะตอบได้ว่ามีโอกาส 50%  หรือมีโอกาส 3 ใน 6 เป็นต้น
ถ้านำมาเรียบเรียงใหม่ให้ดีจะพบว่า โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว


นิยามถ้า S เป็นแซมเปิลสเปซซึ่งเป็นเซตจำกัด ซึ่งแต่ละผลลัพธ์ใน S
มีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน และ E เป็นเหตุการณ์
ซึ่ง E   S และ P(E) แทนความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E และจะได้

หลักการหาความน่าจะเป็น  ดังนี้

P(E) คือสัญลักษณ์แทนความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E
P(E) =   n(E)   = จำนวนของสมาชิกในเหตุการณ์  E
n(S)       จำนวนของสมาชิกในแซมเปิลสเปซ S


สมบัติของความน่าจะเป็น

1.    0< P(E) < 1
2.   ถ้า E = Ø แล้ว   P(E) = 0 คือ P(Ø) = 0
3.   ถ้า E = S แล้ว   P(E) = 1 นั่นคือ  P(S) = 1
4.   P(AUB) = P(A)+P(B) - P(A  B)
5.   P(A) = 1 - P(A')   หรือ  P(A')=1-P(A)
6.   P(AUBUC) = P(A)+P(B)+P(C)-P(A  B)-P(B  C)-P(A  C)+P(A  B  C)

 

                                                 

 

สร้างโดย: 
นิรดา หฤทัยสดใส

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 410 คน กำลังออนไลน์