• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2f06d9ba14a9d90d886c7c67e5e19c6b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"background-color: #ffffff\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><u><b><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ccffcc\">ความสำคัญของสมุนไพร</span></b></u></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"background-color: #ffffff\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"background-color: #ffffff\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"background-color: #ffffff\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"background-color: #ffffff\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"360\" src=\"/files/u19337/chinese_herb_medicine_0.jpg\" height=\"360\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://herb.kapook.com/wp-content/uploads/2009/02/chinese_herb_medicine.jpg\"><strong>http://herb.kapook.com/wp-content/uploads/2009/02/chinese_herb_medicine.jpg</strong></a><br />\n<strong>       </strong><br />\n<b><span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610493.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #808000; background-color: #ffcc99\">ความสำคัญในด้านสาธารณสุข</span></span></b><br />\n<b> </b>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><b>พืชสมุนไพร เป็นผลผลิตจากธรรมชาติ ที่มนุษย์รู้จักนำมาใช้เป็นประโยชน์ เพื่อการรักษาโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่</b></span></p>\n<p><b>โบราณกาลแล้ว เช่นในเอเชียก็มีหลักฐานแสดงว่ามนุษย์รู้จักใช้พืชสมุนไพรมากว่า 6,000 ปี แต่หลังจากที่ความ</b></p>\n<p><b>รู้ด้านวิทยาศาสตร์ มีการพัฒนาเจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีการสังเคราะห์ และผลิตยาจากสารเคมี ในรูปที่ใช้ประโยชน์</b></p>\n<p><b>ได้ง่าย สะดวกสบายในการใช้มากกว่าสมุนไพร ทำให้ความนิยมใช้ยาสมุนไพรลดลงมาเป็นอันมาก เป็นเหตุให้ความรู้</b></p>\n<p><b>วิทยาการด้านสมุนไพรขาดการพัฒนา ไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร ในปัจจุบันทั่วโลกได้ยอมรับแล้วว่าผลที่ได้จาก</b><br />\n\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><b>การสกัดสมุนไพร ให้คุณประโยชน์ดีกว่ายาที่ได้จากการสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ประกอบกับในประเทศไทย</b>\n<p><b>เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ อันอุดมสมบูรณ์ มีพืชต่าง ๆ ที่ใช้เป็นสมุนไพรได้อย่างมากมายนับหมื่นชนิด ยังขาด</b></p>\n<p><b>ก็แต่เพียงการค้นคว้าวิจัยในทางที่เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้นเท่านั้น ความตื่นตัวที่จะพัฒนาความรู้ด้านพืชสมุนไพร</b></p>\n<p><b>จึงเริ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง มีการเริ่มต้นนโยบายสาธารณสุขขั้นมูลฐานอย่างเป็นทางการของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2522</b></p>\n<p><b>โดยเพิ่มโครงการสาธารณสุขขั้นมูลฐานเข้าในแผนพัฒนาการสาธารณสุขตามแผนพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคม</b></p>\n<p><b>แห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) ต่อเนื่องจนถึงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7</b></p>\n<p><b>(พ.ศ. 2535-2539) โดยมี กลวิธีการพัฒนาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยในงานสาธารณสุขมูลฐาน คือ</b></p>\n<p><b> </b></p>\n<p><b><img border=\"0\" width=\"18\" src=\"/files/u19337/th_843.gif\" height=\"21\" /> <span style=\"background-color: #ccffcc\">สนับสนุนและพัฒนาวิชาการและเทคโนโลยีพื้นบ้าน</span>อันได้แก่ การแพทย์แผนไทย เภสัช กรรมแผนไทย</b></p>\n<p><b>การนวดไทย สมุนไพร และเทคโนโลยีพื้นบ้าน เพื่อใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา สุขภาพของชุมชน</b></p>\n<p><b> <img border=\"0\" width=\"18\" src=\"/files/u19337/th_843.gif\" height=\"21\" /></b></p></span><span style=\"color: #3366ff\"><b><span style=\"background-color: #ccffcc\">สนับสนุนและส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง</span> โดยใช้ สมุนไพร การแพทย์พื้นบ้าน การนวดไทย</b>\n<p><b>ในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้เป็นไปอย่างถูกต้องเป็นระบบสามารถปรับประสานการดูแลสุขภาพแผน</b></p>\n<p><b>ปัจจุบันได้ อาจกล่าวได้ว่าสมุนไพรสำหรับสาธารณสุขมูลฐานคือสมุนไพรที่ใช้ในการส่งเสริม สุขภาพ และการรักษา</b></p>\n<p><b>โรค/อาการเจ็บป่วยเบื้องต้น เพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น</b></p></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"475\" src=\"/files/u19337/line68.gif\" height=\"11\" /><br />\n<b> </b>\n<p><b>    <img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610493.gif\" height=\"50\" /> </b><span style=\"color: #008000\"><span style=\"background-color: #ff99cc\"><b><span style=\"color: #993366\">ความสำคัญในด้านเศรษฐกิจ</span></b><br />\n</span></span><br />\n<span style=\"color: #333399\"><b>ในปัจจุบันพืชสมุนไพรจัดเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่ต่างประเทศกำลังหา ทางลงทุนและคัดเลือกสมุนไพร</b></span></p>\n<p><b>ไทยไปสกัดหาตัวยาเพื่อรักษาโรคบางโรคและมีหลาย ประเทศที่นำสมุนไพรไทยไปปลูกและทำการค้าขายแข่ง</b></p>\n<p><b>กับประเทศไทยสมุนไพรหลายชนิดที่เราส่งออกเป็นรูปของวัตถุดิบคือ กระวาน ขมิ้นชัน  เปล้าน้อยและมะขามเปียก</b></p>\n<p><b>เป็นต้น ซึ่งสมุนไพรเหล่านี้ตลาดต่างประเทศยังคงมีความต้องการอีกมาก และในปัจจุบันกรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริม</b></p>\n<p><b>การเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ให้ความสนใจในการศึกษาเพิ่ม ขึ้นและมีโครงการวิจัยบรรจุไว้ในแผน</b></p>\n<p><b>พัฒนาระบบการผลิตการตลาดและการสร้างงาน ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6</b></p>\n<p><b>(พ.ศ. 2530-2534) เพื่อหาความเป็นไปได้ในการพัฒนาคุณภาพและแหล่งปลูกสมุนไพรเพื่อส่งออก โดยกำหนด</b></p>\n<p><b>ชนิดของสมุนไพรที่มีศักยภาพ 13 ชนิด คือ มะขามแขก กานพเทียนเกล็ดหอย ดองดึง เร่ว กระวาน ชะเอมเทศ</b></p>\n<p><b>ขมิ้น จันทร์เทศ ใบพลู พริกไทย ดีปลี และน้ำผึ้ง</b>\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #333399\"><strong></strong></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #333399\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"475\" src=\"/files/u19337/line68.gif\" height=\"11\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/46313\" class=\"box\"><img border=\"0\" width=\"414\" src=\"/files/u19337/HOME_CARTOON.jpg\" height=\"314\" style=\"width: 80px; height: 62px\" /></a><strong><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffcc99\"> กลับสู่หน้าหลัก </span></strong>\n</div>\n<p>\n</p>\n<div align=\"right\">\n<br />\n<b><span style=\"color: #993300; background-color: #ccffff\">ที่มา</span> http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/samunpai/payod.htm</b>\n</div>\n', created = 1715287892, expire = 1715374292, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2f06d9ba14a9d90d886c7c67e5e19c6b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความสำคัญของสมุนไพร

ความสำคัญของสมุนไพร
http://herb.kapook.com/wp-content/uploads/2009/02/chinese_herb_medicine.jpg
      
ความสำคัญในด้านสาธารณสุข
 

พืชสมุนไพร เป็นผลผลิตจากธรรมชาติ ที่มนุษย์รู้จักนำมาใช้เป็นประโยชน์ เพื่อการรักษาโรคภัยไข้เจ็บตั้งแต่

โบราณกาลแล้ว เช่นในเอเชียก็มีหลักฐานแสดงว่ามนุษย์รู้จักใช้พืชสมุนไพรมากว่า 6,000 ปี แต่หลังจากที่ความ

รู้ด้านวิทยาศาสตร์ มีการพัฒนาเจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีการสังเคราะห์ และผลิตยาจากสารเคมี ในรูปที่ใช้ประโยชน์

ได้ง่าย สะดวกสบายในการใช้มากกว่าสมุนไพร ทำให้ความนิยมใช้ยาสมุนไพรลดลงมาเป็นอันมาก เป็นเหตุให้ความรู้

วิทยาการด้านสมุนไพรขาดการพัฒนา ไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร ในปัจจุบันทั่วโลกได้ยอมรับแล้วว่าผลที่ได้จาก


การสกัดสมุนไพร ให้คุณประโยชน์ดีกว่ายาที่ได้จากการสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ประกอบกับในประเทศไทย

เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ อันอุดมสมบูรณ์ มีพืชต่าง ๆ ที่ใช้เป็นสมุนไพรได้อย่างมากมายนับหมื่นชนิด ยังขาด

ก็แต่เพียงการค้นคว้าวิจัยในทางที่เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้นเท่านั้น ความตื่นตัวที่จะพัฒนาความรู้ด้านพืชสมุนไพร

จึงเริ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง มีการเริ่มต้นนโยบายสาธารณสุขขั้นมูลฐานอย่างเป็นทางการของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2522

โดยเพิ่มโครงการสาธารณสุขขั้นมูลฐานเข้าในแผนพัฒนาการสาธารณสุขตามแผนพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคม

แห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) ต่อเนื่องจนถึงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7

(พ.ศ. 2535-2539) โดยมี กลวิธีการพัฒนาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยในงานสาธารณสุขมูลฐาน คือ

 

 สนับสนุนและพัฒนาวิชาการและเทคโนโลยีพื้นบ้านอันได้แก่ การแพทย์แผนไทย เภสัช กรรมแผนไทย

การนวดไทย สมุนไพร และเทคโนโลยีพื้นบ้าน เพื่อใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา สุขภาพของชุมชน

 

สนับสนุนและส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง โดยใช้ สมุนไพร การแพทย์พื้นบ้าน การนวดไทย

ในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้เป็นไปอย่างถูกต้องเป็นระบบสามารถปรับประสานการดูแลสุขภาพแผน

ปัจจุบันได้ อาจกล่าวได้ว่าสมุนไพรสำหรับสาธารณสุขมูลฐานคือสมุนไพรที่ใช้ในการส่งเสริม สุขภาพ และการรักษา

โรค/อาการเจ็บป่วยเบื้องต้น เพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น


 

     ความสำคัญในด้านเศรษฐกิจ

ในปัจจุบันพืชสมุนไพรจัดเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่ต่างประเทศกำลังหา ทางลงทุนและคัดเลือกสมุนไพร

ไทยไปสกัดหาตัวยาเพื่อรักษาโรคบางโรคและมีหลาย ประเทศที่นำสมุนไพรไทยไปปลูกและทำการค้าขายแข่ง

กับประเทศไทยสมุนไพรหลายชนิดที่เราส่งออกเป็นรูปของวัตถุดิบคือ กระวาน ขมิ้นชัน  เปล้าน้อยและมะขามเปียก

เป็นต้น ซึ่งสมุนไพรเหล่านี้ตลาดต่างประเทศยังคงมีความต้องการอีกมาก และในปัจจุบันกรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริม

การเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ให้ความสนใจในการศึกษาเพิ่ม ขึ้นและมีโครงการวิจัยบรรจุไว้ในแผน

พัฒนาระบบการผลิตการตลาดและการสร้างงาน ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6

(พ.ศ. 2530-2534) เพื่อหาความเป็นไปได้ในการพัฒนาคุณภาพและแหล่งปลูกสมุนไพรเพื่อส่งออก โดยกำหนด

ชนิดของสมุนไพรที่มีศักยภาพ 13 ชนิด คือ มะขามแขก กานพเทียนเกล็ดหอย ดองดึง เร่ว กระวาน ชะเอมเทศ

ขมิ้น จันทร์เทศ ใบพลู พริกไทย ดีปลี และน้ำผึ้ง

 กลับสู่หน้าหลัก 


ที่มา http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/samunpai/payod.htm
สร้างโดย: 
นางสาว นภัสวรรณ ยอดทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 345 คน กำลังออนไลน์