• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:dea04a09beaac179b2344d69bc9a9388' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #0066ff\"><span class=\"style11\"><span style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โฟโตเคมีคัลออกซิแดนท์ (</span></span><span class=\"style11\"><span style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\'\">Photochemical Oxidants)</span></span><span style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #ff2f97\"> </span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span class=\"style311\"><span style=\"font-size: 20pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก๊าซโอโซนเป็นสาร<span class=\"style311\"><span style=\"color: navy\">โฟโตเคมีคัลออกซิแดนท์</span></span>ประเภทหนึ่ง ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาเคมี </span><span class=\"style311\"><span style=\"font-size: 20pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\'\">Photochemical Oxidants</span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">ระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและก๊าซออกไซด์ของไนโดตรเจน โดยมีแสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา สาร<span class=\"style311\"><span style=\"color: navy\">โฟโตเคมีคัลออกซิแดนท</span></span>์อื่นๆได้แก่ สารประกอบพวกอัลดีไฮด์ (</span>Aldehydes) <span lang=\"TH\">คีโตน (</span>Ketones) <span lang=\"TH\">และ </span>Peroxyacetyl Nitrate (PAN) <span lang=\"TH\">ดังแสดงในรูป</span>1 <span lang=\"TH\">ก่อให้เกิดสภาพที่เรียกว่า </span>Photochemical Smog <span lang=\"TH\">ซึ่งมีลักษณะเหมือนหมอกสีขาวๆ ปกคลุมอยู่ทั่วไปในอากาศ โดยทั่วไปแล้วก๊าซโอโซนก่อให้เกิดการระคายเคืองตาและระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ความสามารถในการทำงานของปอดลดลง เหนื่อยเร็ว โดยเฉพาะในเด็ก คนชรา และคนที่เป็นโรคปอดเรื้อรัง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 20pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"> <img border=\"0\" width=\"541\" src=\"/files/u19992/flow11111.jpg\" height=\"598\" /></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><i><span style=\"font-size: 16pt; color: gray; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รูปที่ </span></i><i><span style=\"font-size: 16pt; color: gray; font-family: \'Angsana New\'\">1 <span lang=\"TH\">แผนภูมิการเกิดปฏิกิริยาโฟโตเคมีคัลออกซิแดนท์</span><br />\n<span lang=\"TH\">ที่มา : </span>Elsonm D, (1987) <br />\n</span></i><span style=\"font-size: 18pt; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span><span class=\"style311\"><span style=\"font-size: 20pt; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\">          </span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในกระบวนการเกิดปฏิกิริยานี้ขั้นแรก</span><span style=\"font-size: 20pt; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\"> NO<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">จะเกิด ปฏฺกิริยาโฟโตลิซิส (</span>Photolysis) <span lang=\"TH\">ทำให้เกิดอะตอมออกซเจน (</span>O) <span lang=\"TH\">ซึ่งตอมาอะตอมจะทำปฏิกิริยากับออกซิเจน (</span>O<sub>2</sub>) <span lang=\"TH\">ทำให้เกิโอโซน</span> (O<sub>3</sub>) <span lang=\"TH\">และ </span>O<sub>3</sub> <span lang=\"TH\">ก็จะทำปฏิกิริยากับไนโตรเจนมอนอกไซด์ (</span>NO) <span lang=\"TH\">ทำให้เกิดจาก </span>NO<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">แล้วกลับไปเริ่มต้นปฏิกิริยาโฟโตลิซิสอีก ดังแสดงในสมการ</span></span></o:p></span></p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: #00ccff; font-family: \'Angsana New\'\">                       NO<sub>2</sub> + hv -----&gt; NO + O (<span lang=\"TH\">สมการที่ </span>1) <br />\n                       O+O<sub>2</sub> -----&gt; O<sub>3</sub> (<span lang=\"TH\">สมการที่ </span>2)<br />\n                       NO + O<sub>3</sub> -----&gt; NO<sub>2</sub> + O2 (<span lang=\"TH\">สมการที่ </span>3)<br />\n</span><span style=\"font-size: 20pt; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span class=\"style311\"><span style=\"color: #3366ff\">          <span>  </span></span></span>Stephen (1968) <span lang=\"TH\">แสดงในเห็นว่าหากมีไนโตรเจนไดออกไซด์ </span>0.1 <span lang=\"TH\">ส่วนในล้านส่วน จะทำให้เกิด โอโซนประมาณ</span> 0.027 <span lang=\"TH\">ส่วนในล้านส่วน แต่ในสภาพควา มเป็นจริงระดับของโอโซน อาจขึ้นไปสูงถึง </span>0.5 <span lang=\"TH\">ส่วนในล้านส่วนได้ ดังนั้นปฏิกิริยการเกิดดอโวนจะต้องมีกระบวนการอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลต่อปฏิกิริยาโฟโตลอซิสของในโตรเจนไดออกไซด์ ทำให้ความเข้มข้นของโอโซนเพิ่มขึ้น</span></span></p>\n<p><span class=\"style311\"><span style=\"color: #3366ff\">          </span></span><span lang=\"TH\"><span>  </span>สารที่มีผลต่อการเกิด </span>O<sub>3</sub> <span lang=\"TH\">คือ สารเอกทีฟไฮโครคาร์บอน โดยจะทำปฏิกิริยากับอนุมูลไฮดรอกซิล (</span>Hydroxyl Redical : OH) <span lang=\"TH\">ทำให้เพิ่มปริมาณของโอโซน ปฏิกิริยาการเกิดอนุมูลไฮดรอกซิลเกิดจากปฏิกิริยาที่ไอน้ำในอากาศทำปฏิกิริยากับอะตอมของออกซิเจนดังสมการ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: #00ccff; font-family: \'Angsana New\'\">                     O<sub>3</sub> + UV -----&gt; O<sub>2</sub> + O*0 (<span lang=\"TH\">สมการที่ </span>4)<br />\n                    O<sup>0</sup> + <span lang=\"TH\">ไอน้ำ</span> ----&gt; 2OH<sup>0</sup> (<span lang=\"TH\">สมการที่ </span>5)<br />\n</span><span style=\"font-size: 20pt; color: #3366ff; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span class=\"style311\"><span style=\"color: #3366ff\">          </span></span><span lang=\"TH\">นอกจากนี้ </span>Formaldehyde (HCHO) <span lang=\"TH\">ยังเกิดการแตกตัวโดยแสงอาทิตย์เกิดเป็น </span>H <span lang=\"TH\">และ </span>HCO <span lang=\"TH\">เมื่อทำปฏิกิริยากับออกซิเจนจะทำให้เกิด </span>HO<sub>2</sub> (<span lang=\"TH\">เปอร์ออกซีไฮดรอกซิลราดิคัล) เมื่อทำปฏิกิริยา </span>NO <span lang=\"TH\">จะเปลี่ยนเป็นอนุมูลไฮดรอกซิล</span> (OH0) <span lang=\"TH\">ดังสมการ</span></span></p>\n<p><span style=\"color: #00ffff\">                OH<sub>2</sub> + NO -----&gt; OH<sup>0</sup> + NO<sub>2 </sub>(<span lang=\"TH\">สมการที่ </span>6)<br />\n</span><br />\n<span class=\"style311\"><span style=\"color: #3366ff\">          </span></span>.<span lang=\"TH\">ในบรรยากาศที่มีสารรีเอคทีฟไฮโดรคาร์บอน</span> (RH) <span lang=\"TH\">จำทำปฏิกิริยากับ </span>OH<sup>0</sup> <span lang=\"TH\">จะได้สาร </span>R<sup>0</sup> <span lang=\"TH\">ซึ่ง </span>R<sup>0</sup> <span lang=\"TH\">จะทำปฏิกิริยากับ </span>O<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">ในอากาศ ถ้าเป็นอนุมูลเปอร์ออกซี (</span>Pexoxy Radical, RO<sub>2</sub>) <span lang=\"TH\">ทำปฏิกิริยากับ </span>NO <span lang=\"TH\">ทำให้เกิดเป็น </span>NO<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">สารมารถเกิดปฏิกิริยา โฟโตลิซิสเกิดเป็นโอโซนได้ ดังสมการ</span> </p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: #00ccff; font-family: \'Angsana New\'\">                     RH + OH<sup>0</sup> -----&gt; R<sup>0</sup> + H<sub>2</sub>O (<span lang=\"TH\">สมการที่</span> 7)<br />\n                     R<sup>0</sup> + O<sub>3</sub> -----&gt; RO<sub>2</sub> (<span lang=\"TH\">สมการที่</span> 8)<br />\n                     RO<sub>2</sub> + NO -----&gt; NO<sub>2</sub> + RO<sup>0</sup> (<span lang=\"TH\">สมการที่</span> 9)</span></p>\n<p>                     (NO<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">ทำให้เกิด </span>O<sub>3</sub>)<span style=\"font-size: 18pt; color: #00ccff; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                                             .........................\n</p>\n<p>\n                                                             <a href=\"/node/46602\"><img border=\"0\" width=\"160\" src=\"/files/u19992/55555555.png\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n', created = 1720411071, expire = 1720497471, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:dea04a09beaac179b2344d69bc9a9388' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โฟโตเคมีคัลออกซิแดนท์ (Photochemical Oxidants)

โฟโตเคมีคัลออกซิแดนท์ (Photochemical Oxidants) 

 ก๊าซโอโซนเป็นสารโฟโตเคมีคัลออกซิแดนท์ประเภทหนึ่ง ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาเคมี Photochemical Oxidants ระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและก๊าซออกไซด์ของไนโดตรเจน โดยมีแสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา สารโฟโตเคมีคัลออกซิแดนท์อื่นๆได้แก่ สารประกอบพวกอัลดีไฮด์ (Aldehydes) คีโตน (Ketones) และ Peroxyacetyl Nitrate (PAN) ดังแสดงในรูป1 ก่อให้เกิดสภาพที่เรียกว่า Photochemical Smog ซึ่งมีลักษณะเหมือนหมอกสีขาวๆ ปกคลุมอยู่ทั่วไปในอากาศ โดยทั่วไปแล้วก๊าซโอโซนก่อให้เกิดการระคายเคืองตาและระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ความสามารถในการทำงานของปอดลดลง เหนื่อยเร็ว โดยเฉพาะในเด็ก คนชรา และคนที่เป็นโรคปอดเรื้อรัง

 

 รูปที่ 1 แผนภูมิการเกิดปฏิกิริยาโฟโตเคมีคัลออกซิแดนท์
ที่มา : Elsonm D, (1987)

          ในกระบวนการเกิดปฏิกิริยานี้ขั้นแรก NO2 จะเกิด ปฏฺกิริยาโฟโตลิซิส (Photolysis) ทำให้เกิดอะตอมออกซเจน (O) ซึ่งตอมาอะตอมจะทำปฏิกิริยากับออกซิเจน (O2) ทำให้เกิโอโซน (O3) และ O3 ก็จะทำปฏิกิริยากับไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) ทำให้เกิดจาก NO2 แล้วกลับไปเริ่มต้นปฏิกิริยาโฟโตลิซิสอีก ดังแสดงในสมการ

                       NO2 + hv -----> NO + O (สมการที่ 1) 
                       O+O2 -----> O3 (สมการที่ 2)
                       NO + O3 -----> NO2 + O2 (สมการที่ 3)

            Stephen (1968) แสดงในเห็นว่าหากมีไนโตรเจนไดออกไซด์ 0.1 ส่วนในล้านส่วน จะทำให้เกิด โอโซนประมาณ 0.027 ส่วนในล้านส่วน แต่ในสภาพควา มเป็นจริงระดับของโอโซน อาจขึ้นไปสูงถึง 0.5 ส่วนในล้านส่วนได้ ดังนั้นปฏิกิริยการเกิดดอโวนจะต้องมีกระบวนการอื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลต่อปฏิกิริยาโฟโตลอซิสของในโตรเจนไดออกไซด์ ทำให้ความเข้มข้นของโอโซนเพิ่มขึ้น

            สารที่มีผลต่อการเกิด O3 คือ สารเอกทีฟไฮโครคาร์บอน โดยจะทำปฏิกิริยากับอนุมูลไฮดรอกซิล (Hydroxyl Redical : OH) ทำให้เพิ่มปริมาณของโอโซน ปฏิกิริยาการเกิดอนุมูลไฮดรอกซิลเกิดจากปฏิกิริยาที่ไอน้ำในอากาศทำปฏิกิริยากับอะตอมของออกซิเจนดังสมการ

                     O3 + UV -----> O2 + O*0 (สมการที่ 4)
                    O0 + ไอน้ำ ----> 2OH0 (สมการที่ 5)

          นอกจากนี้ Formaldehyde (HCHO) ยังเกิดการแตกตัวโดยแสงอาทิตย์เกิดเป็น H และ HCO เมื่อทำปฏิกิริยากับออกซิเจนจะทำให้เกิด HO2 (เปอร์ออกซีไฮดรอกซิลราดิคัล) เมื่อทำปฏิกิริยา NO จะเปลี่ยนเป็นอนุมูลไฮดรอกซิล (OH0) ดังสมการ

                OH2 + NO -----> OH0 + NO2 (สมการที่ 6)

          .ในบรรยากาศที่มีสารรีเอคทีฟไฮโดรคาร์บอน (RH) จำทำปฏิกิริยากับ OH0 จะได้สาร R0 ซึ่ง R0 จะทำปฏิกิริยากับ O2 ในอากาศ ถ้าเป็นอนุมูลเปอร์ออกซี (Pexoxy Radical, RO2) ทำปฏิกิริยากับ NO ทำให้เกิดเป็น NO2 สารมารถเกิดปฏิกิริยา โฟโตลิซิสเกิดเป็นโอโซนได้ ดังสมการ

                     RH + OH0 -----> R0 + H2O (สมการที่ 7)
                     R0 + O3 -----> RO2 (สมการที่ 8)
                     RO2 + NO -----> NO2 + RO0 (สมการที่ 9)

                     (NO2 ทำให้เกิด O3)

 

                                                                             .........................

                                                            

สร้างโดย: 
นางสาวปิยะวดี ศรีผง และ นางสาวดวงรัตน์ สุขกลัด ม.6/7 ร.ร.กาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 505 คน กำลังออนไลน์