• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ตำนานนาน...เทพกรีก-โรมัน -_-"', 'node/5509', '', '3.142.194.136', 0, '7cba88e099cfab0f2fa797dc1a343a22', 135, 1717083302) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6a77c323ecf0baec9f50dda541eb0470' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>สมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปัจจุบัน)</strong>\n</p>\n<p>\n      ระยะเวลากว่า ๒๐๐ ปี นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๒๕ ที่ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีได้ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ กวีได้รังสรรค์วรรณคดีมรดกไว้เป็นจำนวนมาก เช่น พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ฉบับรัชกาลที่ ๑ ทรงพระราชนิพนธ์  บทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒   บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเสภา   ลิลิตตะเลงพ่าย   สามก๊ก    พระราชพิธีสิบสองเดือน    นิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #008000; background-color: #ff99cc\"><a href=\"/node/47634\" title=\"เพิ่มเติมจ้า\">พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ฉบับรัชกาลที่ ๑</a> </span> </li>\n</ul>\n<p>\n        บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช   เนื้อเรื่องมาจากวรรณคดีของอินเดียเรื่อง รามายณะ อันเป็นวรรณคดีที่สำคัญและมีมานานกว่า ๒๐๐๐ ปีมาแล้ว   ไทยเรานำมาเล่นเป็นหนังและโขนตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีก็ได้ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง รามเกียรติ์ เป็นกลอนบทละคร แต่ไม่แพร่หลายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเกรงว่า เรื่อง รามเกียรติ์ จะสูญไปเสียจึงได้ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นและได้โปรดเกล้าฯ ในกวีในสมัยของพระองค์ร่วมนิพนธ์ด้วยหลายตอน   รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธ์ฉบับนี้ ถ้าเปรียบเทียบกับวรรณคดีเรื่อง รามายณะ ของอินเดีย<br />\nแต่ก็มีที่แตกต่างกันหลายอย่าง เช่น เนื้อเรื่องบางตอน ชื่อตัวละครบางตัว เป็นต้น\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #008000; background-color: #ff99cc\"><span style=\"color: #008000\"><a href=\"/node/47636\" title=\"เพิ่มเติมจ้า\">บทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒</a></span> </span> </li>\n</ul>\n<p>\n      เป็นบทละครที่มีคุณค่าสมควรรักษาไว้เป็นมรดกไทย ประกอบด้วยศิลปะในการแต่งที่ประณีต บทละครมีขนาดกะทัดรัด รักษาขนบ ในการชมเมืองที่ได้แบบอย่างจากเรื่องรามเกียรติ์ และเน้น <strong>องค์ห้าของละครดี</strong> จนกลายเป็นแบบ แผนของการแต่งบทละครในสมัยหลัง สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตทรงยกย่องว่าบทละครเรื่องอิเหนา  พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยนี้ เป็นบทละครที่ครบองค์ห้าของละครดี คือ<br />\n          ๑. ตัวละครงาม (หมายถึง เครื่องแต่งตัวหรือรูปร่าง)<br />\n          ๒. รำงาม<br />\n          ๓. ร้องเพราะ<br />\n          ๔. พิณพาทย์เพราะ<br />\n          ๕. กลอนเพราะ \n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000; background-color: #ff99cc\"><a href=\"/node/47637\" title=\"เพิ่มเติมจ้า\">บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเสภา</a> </span>   </span></li>\n</ul>\n<p>\n       เดิมเรื่องขุนช้าง ขุนแผน เล่าเป็นนิทาน แต่เนื่องจากเป็นเรื่องที่ยาวมาก เมื่อแต่งเป็นกลอน และขับเป็นลำนำด้วยก็ยิ่งจะต้องใช้เวลามาก ไม่สามารถจะขับให้ตลอดเรื่องในคืนเดียวได้ บทเสภาที่แต่งขึ้นจึงแต่งแต่เป็นตอนพอที่จะขับได้ภายในหนึ่งคืน <br />\nดังนั้น บทเสภาเดิมตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า หรือที่แต่งสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จึงแต่งเป็นท่อนเป็นตอน ไม่เป็นเรื่องติดต่อเหมือนกับบทละคร <br />\nการเอาบทเสภามารวมติดต่อกันให้เป็นเรื่องโดยสมบูรณ์ เพิ่งทำในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ\n</p>\n<p>\n       บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนจึงมีผู้แต่งหลายคน ใครพอใจจะขับเสภาตอนในก็แต่งขึ้นเองเฉพาะตอนที่ตนขับ   <br />\nดังนั้น บางตอนจึงมีผู้แต่งหลายคน แต่ละคนจะมีสำนวนเฉพาะตน และมีรายละเอียดแตกต่างกัน เมื่อมีการรวบรวมบทเสภาเป็นเรื่องเดียว <br />\nจึงต้องมีการตรวจสอบชำระ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเป็นประธานชำระเรื่องขุนช้างขุนแผน              เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐  และได้ทรงวินิจฉัยเกี่ยวกับผู้แต่งด้วย ปรากฏว่า มีผู้แต่งหลายคน เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย          พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว   สุนทรภู่ ครูแจ้ง และยังไม่ทราบนามผู้แต่งบทเก่าอีกหลายตอน<br />\n <br />\n       บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นบทร้อยกรองที่มีความยาวมาก แต่งเป็นบทกลอนซึ่งมีแบบแผนฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ <br />\nแต่เมื่อขึ้นต้นตอนใหม่ หรือกล่าวถึงบุคคลใหม่ จะใช้คำขึ้นต้นว่า &quot;ครานั้น&quot; เช่น\n</p>\n<p>\n    ครานั้นจึงโฉมเจ้าเณรแก้ว<br />\n    เย็นแล้วจะไปเทศน์ก็ผลัดผ้า<br />\n    ห่มดองครองแนบกับกายา<br />\n    แล้วไปวันทาท่านขรัวมี\n</p>\n<p>\n      บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนมีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บางตอนกล่าวถึงพระมหากษัตริย์บ้าง   นับได้ว่าเป็นเรื่องราวของคนไทยแท้ ๆ โดยมิได้ดัดแปลงจากวรรณกรรมของชาติอื่น ตัวละครในเรื่องมีชีวิตจิตใจราวกับคนจริงๆ    ที่มีชีวิตอย่างคนธรรมดาซึ่งมีทั้งทุกข์และสุข ความสมหวัง และความผิดหวัง  แก่นสำคัญของเรื่องกล่าวถึงรักสามเส้าของขุนแผน ขุนช้าง และนางพิมหรือนางวันทอง\n</p>\n<ul>\n<li><a href=\"/node/47639\" title=\"เพิ่มเติมจ้า\"><span style=\"color: #800080; background-color: #ff99cc\"><span style=\"color: #008000\">ลิลิตตะเลงพ่าย</span></span></a>    </li>\n</ul>\n<p>\n       ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นบทพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมปรมานุชิตชิโนรส เป็นลิลิตสุภาพประกอบด้วยโคลงและร่ายสุภาพ <br />\nดำเนินความตามพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตอนสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ ทรงปรารภจะไปตีเมืองเขมร พระเจ้าหงสาวดีทรงทราบข่าวว่ากรุงศรีอยุธยาผลัดเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ คาดว่าจะมีการจราจล <br />\nจึงรับสั่งให้พระมหาอุปราชากับพระมหาราชเจ้านครเชียงใหม่ ยกทัพลงมาหยั่งท่าทีกรุงศรีอยุธยา จนในที่สุดได้มีการทำสงครามยุทธหัตถีกันขึ้นระหว่างจอมทัพไทยคือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจอมพม่าคือ พระมหาอุปราชา ชัยชนะของสมเด็จพระนเรศวรในครั้งนั้นได้สำแดงพระบรมเดชานุภาพและพระราชกฤษฎาภินิหารชองพระองศ์ไปทั่วทิศานุทิศ และจบลงด้วยการขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมาของเจ้าเมืองเชียงใหม่ ลิลิตตะเลงพ่ายได้รับการยกย่องว่ามีความเป็นเลิศทางด้านบทประพันธ์ประเภทลิลิต <br />\n \n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #008000; background-color: #ff99cc\"><span style=\"color: #008000\"><a href=\"/node/47640\" title=\"เพิ่มเติมจ้า\">สามก๊ก</a></span> </span>    </li>\n</ul>\n<p>\n     หนังสือเรื่องสามก๊กได้รับยกย่องให้เป็นยอดแห่งวรรณกรรมประเภทร้อยแก้วของไทย<br />\nเรื่องสามก๊กแต่เดิมเป็นเรื่องเล่าสู่กันฟังในประเทศจีน ครั้นถึงสมัยราชวงศ์ถัง (พ.ศ. ๑๑๖๑ - ๑๔๔๙) พวกงิ้วได้นำเรื่องสามก๊กมาแสดง <br />\nได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ต่อมาในสมัยราชวงศ์หยวน (พ.ศ. ๑๘๒๐ - ๑๙๐๐ตรงกับสมัยสุโขทัย) และสมัยราชวงศ์ไต้เหม็ง(พ.ศ. ๑๙๑๑ - ๒๑๘๖)  ได้มีการแต่งหนังสือโดยใช้เรื่องพงศาวดารเป็นหลัก นักเขียนผู้หนึ่งชื่อล่อกวนตง ชาวเมืองฮั่งจิ๋ว ได้นำเรื่องสามก๊กมาเขียนใหม่ เรียกว่า &quot;สามก๊กจี่&quot; มีความยาว ๑๒๐ ตอน    ต่อมานักปราชญ์อีก ๒ ท่าน คือ เม่าจงกังกับกิมเสี่ยถ่าง ได้ช่วยกันแต่งคำอธิบายเพิ่มเติมและพิมพ์เรื่องสามก๊กขึ้น เรื่องสามก๊กจึงแพร่หลายอย่างรวดเร็วภายในประเทศจีน <br />\nต่อมาได้มีการแปลเป็นภาษาต่างๆรวมทั้งภาษาไทย ซึ่งเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ได้เป็นผู้อำนวยการการแปล เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๕\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #008000; background-color: #ff99cc\"><span style=\"color: #008000\"><a href=\"/node/47641\" title=\"เพิ่มเติมจ้า\">พระราชพิธีสิบสองเดือน</a></span> </span>    </li>\n</ul>\n<p>\n     เนื้อเรื่องกล่าวถึงพระราชพิธีต่างๆที่กระทำในแต่ละเดือนตลอดทั้งปี ทรงอธิบายตำราเดิมของพระราชพิธี การแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือเลิกพิธี  เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชพิธีตั้งแต่ต้นปีจนถึงปลายปี ยกเว้น พิธี เดือน ๑๑ ที่มิได้รวมไว้ <br />\nทรงศึกษาค้นคว้าข้อมูลทั้งจากตำราและจากคำบอกเล่าของบุคคล เช่น  พระมหาราชครู พราหมณ์ผู้ทำพิธี และจากการสังเกตเหตุการณ์ที่ทรงคุ้นเคย  นับได้ว่าหนังสือเล่มนี้มีคุณค่าทางด้านสังคมศาสตร์ ทรงใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย และเขียนอธิบายตามลำดับจากง่ายไปสู่ยาก จากอดีตมาสู่ปัจจุบัน เหมาะสมกับการเป็นคำอธิบายชี้แจงให้เกิดความรู้ความเข้าใจ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41694\" title=\"หน้าหลัก\"><img border=\"0\" width=\"193\" src=\"/files/u18980/2009-11-24_174343.png\" height=\"100\" style=\"width: 117px; height: 54px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1717083312, expire = 1717169712, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6a77c323ecf0baec9f50dda541eb0470' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมัยรัตนโกสินทร์

สมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปัจจุบัน)

      ระยะเวลากว่า ๒๐๐ ปี นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๒๕ ที่ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีได้ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ กวีได้รังสรรค์วรรณคดีมรดกไว้เป็นจำนวนมาก เช่น พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ฉบับรัชกาลที่ ๑ ทรงพระราชนิพนธ์  บทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒   บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเสภา   ลิลิตตะเลงพ่าย   สามก๊ก    พระราชพิธีสิบสองเดือน    นิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณี

 

        บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช   เนื้อเรื่องมาจากวรรณคดีของอินเดียเรื่อง รามายณะ อันเป็นวรรณคดีที่สำคัญและมีมานานกว่า ๒๐๐๐ ปีมาแล้ว   ไทยเรานำมาเล่นเป็นหนังและโขนตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีก็ได้ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง รามเกียรติ์ เป็นกลอนบทละคร แต่ไม่แพร่หลายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเกรงว่า เรื่อง รามเกียรติ์ จะสูญไปเสียจึงได้ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นและได้โปรดเกล้าฯ ในกวีในสมัยของพระองค์ร่วมนิพนธ์ด้วยหลายตอน   รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธ์ฉบับนี้ ถ้าเปรียบเทียบกับวรรณคดีเรื่อง รามายณะ ของอินเดีย
แต่ก็มีที่แตกต่างกันหลายอย่าง เช่น เนื้อเรื่องบางตอน ชื่อตัวละครบางตัว เป็นต้น

      เป็นบทละครที่มีคุณค่าสมควรรักษาไว้เป็นมรดกไทย ประกอบด้วยศิลปะในการแต่งที่ประณีต บทละครมีขนาดกะทัดรัด รักษาขนบ ในการชมเมืองที่ได้แบบอย่างจากเรื่องรามเกียรติ์ และเน้น องค์ห้าของละครดี จนกลายเป็นแบบ แผนของการแต่งบทละครในสมัยหลัง สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตทรงยกย่องว่าบทละครเรื่องอิเหนา  พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยนี้ เป็นบทละครที่ครบองค์ห้าของละครดี คือ
          ๑. ตัวละครงาม (หมายถึง เครื่องแต่งตัวหรือรูปร่าง)
          ๒. รำงาม
          ๓. ร้องเพราะ
          ๔. พิณพาทย์เพราะ
          ๕. กลอนเพราะ 

       เดิมเรื่องขุนช้าง ขุนแผน เล่าเป็นนิทาน แต่เนื่องจากเป็นเรื่องที่ยาวมาก เมื่อแต่งเป็นกลอน และขับเป็นลำนำด้วยก็ยิ่งจะต้องใช้เวลามาก ไม่สามารถจะขับให้ตลอดเรื่องในคืนเดียวได้ บทเสภาที่แต่งขึ้นจึงแต่งแต่เป็นตอนพอที่จะขับได้ภายในหนึ่งคืน
ดังนั้น บทเสภาเดิมตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า หรือที่แต่งสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จึงแต่งเป็นท่อนเป็นตอน ไม่เป็นเรื่องติดต่อเหมือนกับบทละคร
การเอาบทเสภามารวมติดต่อกันให้เป็นเรื่องโดยสมบูรณ์ เพิ่งทำในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ

       บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนจึงมีผู้แต่งหลายคน ใครพอใจจะขับเสภาตอนในก็แต่งขึ้นเองเฉพาะตอนที่ตนขับ  
ดังนั้น บางตอนจึงมีผู้แต่งหลายคน แต่ละคนจะมีสำนวนเฉพาะตน และมีรายละเอียดแตกต่างกัน เมื่อมีการรวบรวมบทเสภาเป็นเรื่องเดียว
จึงต้องมีการตรวจสอบชำระ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเป็นประธานชำระเรื่องขุนช้างขุนแผน              เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐  และได้ทรงวินิจฉัยเกี่ยวกับผู้แต่งด้วย ปรากฏว่า มีผู้แต่งหลายคน เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย          พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว   สุนทรภู่ ครูแจ้ง และยังไม่ทราบนามผู้แต่งบทเก่าอีกหลายตอน
 
       บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นบทร้อยกรองที่มีความยาวมาก แต่งเป็นบทกลอนซึ่งมีแบบแผนฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ
แต่เมื่อขึ้นต้นตอนใหม่ หรือกล่าวถึงบุคคลใหม่ จะใช้คำขึ้นต้นว่า "ครานั้น" เช่น

    ครานั้นจึงโฉมเจ้าเณรแก้ว
    เย็นแล้วจะไปเทศน์ก็ผลัดผ้า
    ห่มดองครองแนบกับกายา
    แล้วไปวันทาท่านขรัวมี

      บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนมีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บางตอนกล่าวถึงพระมหากษัตริย์บ้าง   นับได้ว่าเป็นเรื่องราวของคนไทยแท้ ๆ โดยมิได้ดัดแปลงจากวรรณกรรมของชาติอื่น ตัวละครในเรื่องมีชีวิตจิตใจราวกับคนจริงๆ    ที่มีชีวิตอย่างคนธรรมดาซึ่งมีทั้งทุกข์และสุข ความสมหวัง และความผิดหวัง  แก่นสำคัญของเรื่องกล่าวถึงรักสามเส้าของขุนแผน ขุนช้าง และนางพิมหรือนางวันทอง

       ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นบทพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมปรมานุชิตชิโนรส เป็นลิลิตสุภาพประกอบด้วยโคลงและร่ายสุภาพ
ดำเนินความตามพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตอนสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ ทรงปรารภจะไปตีเมืองเขมร พระเจ้าหงสาวดีทรงทราบข่าวว่ากรุงศรีอยุธยาผลัดเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ คาดว่าจะมีการจราจล
จึงรับสั่งให้พระมหาอุปราชากับพระมหาราชเจ้านครเชียงใหม่ ยกทัพลงมาหยั่งท่าทีกรุงศรีอยุธยา จนในที่สุดได้มีการทำสงครามยุทธหัตถีกันขึ้นระหว่างจอมทัพไทยคือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจอมพม่าคือ พระมหาอุปราชา ชัยชนะของสมเด็จพระนเรศวรในครั้งนั้นได้สำแดงพระบรมเดชานุภาพและพระราชกฤษฎาภินิหารชองพระองศ์ไปทั่วทิศานุทิศ และจบลงด้วยการขอเป็นข้าขอบขัณฑสีมาของเจ้าเมืองเชียงใหม่ ลิลิตตะเลงพ่ายได้รับการยกย่องว่ามีความเป็นเลิศทางด้านบทประพันธ์ประเภทลิลิต 
 

     หนังสือเรื่องสามก๊กได้รับยกย่องให้เป็นยอดแห่งวรรณกรรมประเภทร้อยแก้วของไทย
เรื่องสามก๊กแต่เดิมเป็นเรื่องเล่าสู่กันฟังในประเทศจีน ครั้นถึงสมัยราชวงศ์ถัง (พ.ศ. ๑๑๖๑ - ๑๔๔๙) พวกงิ้วได้นำเรื่องสามก๊กมาแสดง
ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ต่อมาในสมัยราชวงศ์หยวน (พ.ศ. ๑๘๒๐ - ๑๙๐๐ตรงกับสมัยสุโขทัย) และสมัยราชวงศ์ไต้เหม็ง(พ.ศ. ๑๙๑๑ - ๒๑๘๖)  ได้มีการแต่งหนังสือโดยใช้เรื่องพงศาวดารเป็นหลัก นักเขียนผู้หนึ่งชื่อล่อกวนตง ชาวเมืองฮั่งจิ๋ว ได้นำเรื่องสามก๊กมาเขียนใหม่ เรียกว่า "สามก๊กจี่" มีความยาว ๑๒๐ ตอน    ต่อมานักปราชญ์อีก ๒ ท่าน คือ เม่าจงกังกับกิมเสี่ยถ่าง ได้ช่วยกันแต่งคำอธิบายเพิ่มเติมและพิมพ์เรื่องสามก๊กขึ้น เรื่องสามก๊กจึงแพร่หลายอย่างรวดเร็วภายในประเทศจีน
ต่อมาได้มีการแปลเป็นภาษาต่างๆรวมทั้งภาษาไทย ซึ่งเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ได้เป็นผู้อำนวยการการแปล เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๕

     เนื้อเรื่องกล่าวถึงพระราชพิธีต่างๆที่กระทำในแต่ละเดือนตลอดทั้งปี ทรงอธิบายตำราเดิมของพระราชพิธี การแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือเลิกพิธี  เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชพิธีตั้งแต่ต้นปีจนถึงปลายปี ยกเว้น พิธี เดือน ๑๑ ที่มิได้รวมไว้
ทรงศึกษาค้นคว้าข้อมูลทั้งจากตำราและจากคำบอกเล่าของบุคคล เช่น  พระมหาราชครู พราหมณ์ผู้ทำพิธี และจากการสังเกตเหตุการณ์ที่ทรงคุ้นเคย  นับได้ว่าหนังสือเล่มนี้มีคุณค่าทางด้านสังคมศาสตร์ ทรงใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย และเขียนอธิบายตามลำดับจากง่ายไปสู่ยาก จากอดีตมาสู่ปัจจุบัน เหมาะสมกับการเป็นคำอธิบายชี้แจงให้เกิดความรู้ความเข้าใจ

 

 

สร้างโดย: 
นส.อารียาและอ.เกวลิน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 248 คน กำลังออนไลน์