• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6e6df618c15f5d87a2c6f1a5afdf51fc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/1.jpg\" style=\"width: 628px; height: 124px\" align=\"top\" height=\"124\" width=\"600\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <a href=\"/node/45196\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/a.jpg\" style=\"width: 159px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47108\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/c.jpg\" style=\"width: 153px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47162\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/e.jpg\" style=\"width: 152px; height: 53px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47170\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/h.jpg\" style=\"width: 150px; height: 52px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47262\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/b.jpg\" style=\"width: 161px; height: 55px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/45873\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/d.jpg\" style=\"width: 156px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/46175\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/f.jpg\" style=\"width: 149px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/42214\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/clock111.jpg\" style=\"width: 130px; height: 146px\" align=\"top\" height=\"589\" width=\"387\" /> </a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/47afce77794ef.gif\" style=\"width: 588px; height: 27px\" height=\"30\" width=\"250\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #0000ff; color: #ffff00\"><strong>   9. ระบบฮอร์โมน   </strong></span>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"> ระดับฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน ในเลือดสูงสุดเวลา 08.00-09.00 น. และต่ำสุดในช่วงกลางคืน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"> ระดับฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมหมวกไต ต่ำสุดช่วง 04.00-18.00 น. </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\">ระดับฮอร์โมน ACTH ตรงกันข้ามจะสูงตอนเช้า (08.00-09.00 น.) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"> ระดับฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ เริ่มต้นสูงตั้งแต่ 04.00 น. และสูงสุดในช่วง 06.00-08.00 น. </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ต่ำสุดระหว่าง 22.00-01.00 น. ช่วงเวลาตั้งแต่เที่ยงคืนถึง 09.00 น. มีปริมาณการหลั่งถึงร้อยละ 70 ของปริมาณฮอร์โมน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\">ทั้งหมดของรอบ 24 ชั่วโมง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #008000\"> ระดับฮอร์โมนที่มากระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ จะสูงสุดช่วงหัวค่ำถึงเที่ยงคืน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\">คนที่ทำงานเวรผลัดดึกหลายๆ วัน ต้องใช้เวลาการปรับสภาพการทำงานของต่อมไพเนียลนานเป็นสัปดาห์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">จึงจะเข้ากฎเกณฑ์ปกติ (melatonin จะต้องหลั่งมากกลางคืน-ตอนมืด) ฮอร์โมนการเจริญเติบโต จะหลั่งสูงสุด</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\">ภายหลังการนอนหลับลึกยามค่ำคืน </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ฮอร์โมนโพรแล็กทิน เริ่มจะสูงขึ้นในช่วง 60-90 นาที หลังนอนหลับกลางคืน และค่อยๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\">สูงสุดเวลาหัวรุ่ง 05.00-07.00 น. และลดลงอย่างรวดเร็ว</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ccff\">จนถึง 10.00 น. สู่ระดับต่ำสุด</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><em>ฮอร์โมน (Hormone)</em></span></strong><br />\n           \n</p>\n<p>\n                <span style=\"color: #ff6600\">  ฮอร์โมน คือ</span> <span style=\"color: #3366ff\">สารที่สร้างและหลั่งออกมาจากต่อมไร้ท่อ เข้าสู่กระแสเลือดหรือน้ำเหลืองเพื่อไปยังอวัยวะเป้าหมาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> และกระตุ้นให้อวัยวะเป้าหมายทำหน้าที่ตามชนิดของฮอร์โมนนั้นๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><em>การแบ่งประเภทของฮอร์โมน</em></strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                 <span style=\"color: #3366ff\">ฮอร์โมน สามารถแบ่งได้หลายแบบ ได้แก่</span>\n</p>\n<p>\n                      <span style=\"color: #ff6600\"> 1. แบ่งตามคุณสมบัติการละลาย</span> \n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #3366ff\">  ** การแบ่งประเภทของฮอร์โมน ตามคุณสมบัติการละลาย สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">                       - ละลายได้ในน้ำแต่ไม่ละลายในไขมัน เช่น โกรท ฮอร์โมน(GH) เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">                       - ละลายได้ในไขมันแต่ไม่ละลายในน้ำ เช่น เอสโตรเจน(estrogen) , โปรเจสเตอร์โรน(progesterone) เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n                     <span style=\"color: #ff6600\">2. แบ่งตามโครงสร้างทางเคมี</span>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #3366ff\"> ** การแบ่งประเภทของฮอร์โมน ตามโครงสร้างทางเคมี สามารถแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ </span>\n</p>\n<p>\n                 <span style=\"color: #339966\">    1.ฮอร์โมนที่มีโครงสร้างเป็นพวกโปรตีน(Protein) หรือโพลีเปปไทท์(Polypeptide) เช่น ฮอร์โมนจาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">ต่อมใต้สมอง , พาราไทรอยด์ , และตับอ่อน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">                     2.ฮอร์โมนที่มีโครงสร้างเป็นพวกสเตอรอยด์(Steroids) เช่น ฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนเปลือก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">(Adrenal cortex) เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">                     3. ฮอร์โมนที่มีโครงสร้างเป็นพวกฟีนอล(Phenol group) เช่น ฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนกลาง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">(Adrenal medulla) เป็นต้น</span><br />\n \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><em>กลไกการทำงานของฮอร์โมน</em></strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                    <span style=\"color: #3366ff\"> ฮอร์โมน จะสามารถทำหน้าที่ได้ เนื่องจากฮอร์โมนไปกระทำต่ออวัยวะเป้าหมาย การกระทำต่ออวัยวะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เป้าหมายของฮอร์โมน มีวิธีการหลัก ๆ คือ ฮอร์โมนโดยปกติจะไหลเวียนไปตามกระแสเลือดหรือน้ำเหลืองทั่วร่างกาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> เมื่อฮอร์โมนผ่านบริเวณที่เป็นจุดรับ(Receptor site) ที่มีตัวรับ(Receptor) ของฮอร์โมนชนิดนั้น ๆ อยู่  <span style=\"color: #ff6600\">ฮอร์โมนจะจับกับตัวรับ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> <span style=\"color: #ff6600\">ซึ่งตัวรับจะเป็นเฉพาะชนิดของฮอร์โมนแต่ละชนิด ไม่ซ้ำกัน</span> เช่น ฮอร์โมนเอฟเอสเอช(FSH) จะมีตัวรับเฉพาะของตัวเอง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> และฮอร์โมนเอสโตรเจน( Estrogen) ก็จะมีตัวรับเฉพาะของตัวเองเช่นกัน ฮอร์โมนเอสโตรเจนไม่สามารถจับกับตัวรับ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ของฮอร์โมนเอฟเอสเอช ได้ และในทางตรงกันข้าม ฮอร์โมนเอฟเอสเอชก็ไม่สามารถจับกับตัวรับของฮอร์โมนเอสโตรเจนได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ff6600\">ฮอร์โมนชนิดใดก็จะจับกับตัวรับของฮอร์โมนชนิดนั้น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                     <span style=\"color: #3366ff\"> เมื่อฮอร์โมนจับกับตัวรับเฉพาะของฮอร์โมนแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีหลังจากจับกับ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ตัวรับ(Receptor)  การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี จะกระตุ้นให้ องค์ประกอบต่าง ๆ ในเซลล์ทำหน้าที่</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/1681.jpg\" align=\"middle\" height=\"313\" width=\"250\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : <a href=\"http://www.phyathai.com/phyathai/new/upload/media_library/article/1681.jpg\">http://www.phyathai.com/phyathai/new/upload/media_library/article/1681.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n \n</p>\n', created = 1719973495, expire = 1720059895, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6e6df618c15f5d87a2c6f1a5afdf51fc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบฮอร์โมน

 

 

 

   9. ระบบฮอร์โมน     

 

 ระดับฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน ในเลือดสูงสุดเวลา 08.00-09.00 น. และต่ำสุดในช่วงกลางคืน

 ระดับฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมหมวกไต ต่ำสุดช่วง 04.00-18.00 น.

ระดับฮอร์โมน ACTH ตรงกันข้ามจะสูงตอนเช้า (08.00-09.00 น.)

 ระดับฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ เริ่มต้นสูงตั้งแต่ 04.00 น. และสูงสุดในช่วง 06.00-08.00 น.

ต่ำสุดระหว่าง 22.00-01.00 น. ช่วงเวลาตั้งแต่เที่ยงคืนถึง 09.00 น. มีปริมาณการหลั่งถึงร้อยละ 70 ของปริมาณฮอร์โมน

ทั้งหมดของรอบ 24 ชั่วโมง


 ระดับฮอร์โมนที่มากระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ จะสูงสุดช่วงหัวค่ำถึงเที่ยงคืน

คนที่ทำงานเวรผลัดดึกหลายๆ วัน ต้องใช้เวลาการปรับสภาพการทำงานของต่อมไพเนียลนานเป็นสัปดาห์

จึงจะเข้ากฎเกณฑ์ปกติ (melatonin จะต้องหลั่งมากกลางคืน-ตอนมืด) ฮอร์โมนการเจริญเติบโต จะหลั่งสูงสุด

ภายหลังการนอนหลับลึกยามค่ำคืน

 

ฮอร์โมนโพรแล็กทิน เริ่มจะสูงขึ้นในช่วง 60-90 นาที หลังนอนหลับกลางคืน และค่อยๆ

สูงสุดเวลาหัวรุ่ง 05.00-07.00 น. และลดลงอย่างรวดเร็ว

จนถึง 10.00 น. สู่ระดับต่ำสุด

 

ฮอร์โมน (Hormone)
           

                  ฮอร์โมน คือ สารที่สร้างและหลั่งออกมาจากต่อมไร้ท่อ เข้าสู่กระแสเลือดหรือน้ำเหลืองเพื่อไปยังอวัยวะเป้าหมาย

 และกระตุ้นให้อวัยวะเป้าหมายทำหน้าที่ตามชนิดของฮอร์โมนนั้นๆ

การแบ่งประเภทของฮอร์โมน

 

                 ฮอร์โมน สามารถแบ่งได้หลายแบบ ได้แก่

                       1. แบ่งตามคุณสมบัติการละลาย 

        ** การแบ่งประเภทของฮอร์โมน ตามคุณสมบัติการละลาย สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ

                       - ละลายได้ในน้ำแต่ไม่ละลายในไขมัน เช่น โกรท ฮอร์โมน(GH) เป็นต้น

                       - ละลายได้ในไขมันแต่ไม่ละลายในน้ำ เช่น เอสโตรเจน(estrogen) , โปรเจสเตอร์โรน(progesterone) เป็นต้น

                     2. แบ่งตามโครงสร้างทางเคมี

        ** การแบ่งประเภทของฮอร์โมน ตามโครงสร้างทางเคมี สามารถแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ

                     1.ฮอร์โมนที่มีโครงสร้างเป็นพวกโปรตีน(Protein) หรือโพลีเปปไทท์(Polypeptide) เช่น ฮอร์โมนจาก

ต่อมใต้สมอง , พาราไทรอยด์ , และตับอ่อน

                     2.ฮอร์โมนที่มีโครงสร้างเป็นพวกสเตอรอยด์(Steroids) เช่น ฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนเปลือก

(Adrenal cortex) เป็นต้น

                     3. ฮอร์โมนที่มีโครงสร้างเป็นพวกฟีนอล(Phenol group) เช่น ฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนกลาง

(Adrenal medulla) เป็นต้น
 

กลไกการทำงานของฮอร์โมน

 

                     ฮอร์โมน จะสามารถทำหน้าที่ได้ เนื่องจากฮอร์โมนไปกระทำต่ออวัยวะเป้าหมาย การกระทำต่ออวัยวะ

เป้าหมายของฮอร์โมน มีวิธีการหลัก ๆ คือ ฮอร์โมนโดยปกติจะไหลเวียนไปตามกระแสเลือดหรือน้ำเหลืองทั่วร่างกาย

 เมื่อฮอร์โมนผ่านบริเวณที่เป็นจุดรับ(Receptor site) ที่มีตัวรับ(Receptor) ของฮอร์โมนชนิดนั้น ๆ อยู่  ฮอร์โมนจะจับกับตัวรับ

 ซึ่งตัวรับจะเป็นเฉพาะชนิดของฮอร์โมนแต่ละชนิด ไม่ซ้ำกัน เช่น ฮอร์โมนเอฟเอสเอช(FSH) จะมีตัวรับเฉพาะของตัวเอง

 และฮอร์โมนเอสโตรเจน( Estrogen) ก็จะมีตัวรับเฉพาะของตัวเองเช่นกัน ฮอร์โมนเอสโตรเจนไม่สามารถจับกับตัวรับ

ของฮอร์โมนเอฟเอสเอช ได้ และในทางตรงกันข้าม ฮอร์โมนเอฟเอสเอชก็ไม่สามารถจับกับตัวรับของฮอร์โมนเอสโตรเจนได้

ฮอร์โมนชนิดใดก็จะจับกับตัวรับของฮอร์โมนชนิดนั้น


                      เมื่อฮอร์โมนจับกับตัวรับเฉพาะของฮอร์โมนแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีหลังจากจับกับ

ตัวรับ(Receptor)  การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี จะกระตุ้นให้ องค์ประกอบต่าง ๆ ในเซลล์ทำหน้าที่

 

 

 ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : http://www.phyathai.com/phyathai/new/upload/media_library/article/1681.jpg


 

สร้างโดย: 
นางสาว พธูกมล พานิชนก และนางสาว ศศนันท์ กฤษณะวนิช โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 435 คน กำลังออนไลน์