• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5d2265d5e0f77b2a5ffc0deebd51edb8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/1.jpg\" style=\"width: 628px; height: 124px\" align=\"top\" height=\"124\" width=\"600\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <a href=\"/node/45196\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/a.jpg\" style=\"width: 159px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47108\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/c.jpg\" style=\"width: 153px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47162\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/e.jpg\" style=\"width: 152px; height: 53px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47170\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/h.jpg\" style=\"width: 150px; height: 52px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47262\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/b.jpg\" style=\"width: 161px; height: 55px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/45873\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/d.jpg\" style=\"width: 156px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/46175\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/f.jpg\" style=\"width: 149px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/42214\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/clock111.jpg\" style=\"width: 130px; height: 146px\" align=\"top\" height=\"589\" width=\"387\" /> </a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/47afce77794ef.gif\" style=\"width: 588px; height: 27px\" height=\"30\" width=\"250\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc00; color: #339966\"><strong><span style=\"color: #008000\">   7. ระดับกลูโคสในเลือด</span>   </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc00; color: #339966\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/insulin-secretion-w500.jpg\" style=\"width: 369px; height: 301px\" align=\"middle\" height=\"500\" width=\"500\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc00; color: #339966\"><span style=\"background-color: #ffffff\">ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : </span><a href=\"http://numob.files.wordpress.com/2009/07/insulin-secretion-w500.jpg\"><span style=\"background-color: #ffffff\">http://numob.files.wordpress.com/2009/07/insulin-secretion-w500.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc00; color: #339966\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc00; color: #339966\"></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                      <span style=\"color: #ff0000\">ระดับกลูโคสในเลือดของหนูทดลองสูงสุดเวลาประมาณ 08.30 น. ต่ำสุดช่วงเวลา 20.30 น. แม้ในภาวะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ที่หิวจัด ระดับกลูโคสก็จะดำรงอยู่เช่นนี้ไม่เปลี่ยนแปลง</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                       <span style=\"color: #3366ff\">ในร่างกายมนุษย์ ระดับน้ำตาลเริ่มลดลงตั้งแต่พลบค่ำ (18.00 น.) และค่อยๆ ลดลงต่ำสุดระหว่างเวลา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">03.00 – 06.00 น. กฎเกณฑ์นี้นำมาประยุกต์กับการรักษาเบาหวาน ซึ่งมักจะต้องใช้ยาช่วงเวลากลางวัน ที่มีแนวโน้มน้ำตาลกลูโคส </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ในเลือดสูง ถ้าผู้ป่วยกินยาลดน้ำตาลในเลือดเกินขนาด หรือมากเกินช่วงกลางคืน อาจเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำและมีอาการช็อกได้</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        <span style=\"color: #ff6600\">การตรวจวัดระดับ กลูโคส (Glucose) ในเลือดด้วยตนเอง</span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นสิ่งสำคัญและเป็นหัวใจของการรักษาเบาหวาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> หากท่านเป็นเบาหวาน การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด จะบอกท่านว่าการรักษาเบาหวานของท่านนั้นได้ผลหรือไม่ ซึ่งผลการตรวจ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">วัดนี้จะเป็นแนวทางให้ท่านและคณะแพทย์ผู้ดูแลท่านปรับเปลี่ยนกระบวนการรักษาสำหรับท่านได้</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        <span style=\"color: #ff6600\">การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตัวเอง</span> <span style=\"color: #ff6600\">เป็นทางที่ดีที่สุด</span><span style=\"color: #3366ff\">ที่จะบอกว่าร่างกายของท่าน มีการจัดการ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">กับการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การใช้ยารักษาเบาหวาน ความเครียด และอาการเจ็บป่วยได้ดีมากน้อยอย่างไร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #f6088d\">การตรวจวัดระดับกลูโคส (Glucose) ในเลือด จะทำให้ท่านทราบว่าเกิดอะไรขึ้นกับระดับน้ำตาลในเลือดของท่าน</span> เมื่อท่าน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ได้รับประทานอาหารทั้งในชนิดและปริมาณที่เหมาะสม ออกกำลังกายที่เหมาะสม หรือลดหรือเพิ่มน้ำหนักแล้ว และท่านจะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">สามารถเห็นว่ายามีผลต่อระดับกลูโคสในเลือดของท่านอย่างไร ซึ่งจะทำให้ท่านทราบว่า การใช้ยาได้ผลหรือไม่ ผลการตรวจ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">วัดระดับกลูโคสในเลือดของท่าน อาจทำให้ท่านเตรียมพร้อมว่า ท่านควรจะรับประทานอาหารว่างเข้าไปก่อนระหว่างมื้อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">หรือควรจะฉีดอินซูลิน (Insulin) เข้าไป หรือควรจะต้องไปเดินออกกำลังกาย </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                        <span style=\"color: #3366ff\"> นอกจากนี้ การตรวจวัดระดับกลูโคสในเลือด ยังช่วยเตือนให้ท่านทราบว่าระดับกลูโคสของท่านนั้นสูง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ไปหรือต่ำไปเพียงไร ซึ่งท่านอาจจะต้องการการดูแลรักษาเป็นพิเศษก็ได้</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<em><span style=\"color: #ff0000\">ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) มีสาเหตุจาก ?</span></em>\n</p>\n<p>\n              <span style=\"color: #008000\">- การได้รับอาหารมากไป หรือได้รับอาหารที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม</span> \n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #3366ff\">   - การออกกำลังกายน้อยไป หรือไม่ได้ออกกำลังกายเลย</span>\n</p>\n<p>\n            <span style=\"color: #008000\">  - การได้รับยารักษาเบาหวานในขนาดที่น้อยไป หรือไม่ได้รับประทานยารักษาเบาหวานตามที่แพทย์แนะนำ</span>\n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #3366ff\">      - มีความเครียดมากเกินไป</span>\n</p>\n<p>\n             <span style=\"color: #008000\"> - มีการติดเชื้อหรือไม่สบาย</span>\n</p>\n<p>\n            <span style=\"color: #3366ff\">  - ร่างกายไม่สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสมต่อยารักษาเบาหวานที่รับประทานเข้าไป </span>\n</p>\n<p>\n              <span style=\"color: #008000\">- การมีประจำเดือน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #f20c76\">สาเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งหรือสาเหตุร่วมกันของปัจจัยดังกล่าวเหล่านี้ อาจนำไปสู่ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงได้</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/_AA_D1_1.jpg\" align=\"middle\" height=\"375\" width=\"300\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nขอขอบคุณที่มาของภาพจาก :\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.reginahealth.net/images/column1230112814/%AA%D1%E8%A7%B9%B9.jpg\">http://www.reginahealth.net/images/column1230112814/%AA%D1%E8%A7%B9%B9.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<em><span style=\"color: #ff0000\">ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) มีสาเหตุจาก ?</span></em>\n</p>\n<p>\n              <span style=\"color: #008000\">- ไม่ได้ปฏิบัติตามในเรื่องแผนการรับประทานอาหารอย่างเคร่งครัด เช่น ไม่ได้รับอาหารที่เพียงพอ หรือมีการ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">เปลี่ยนแปลงเวลารับประทานอาหาร</span>\n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #3366ff\">   - ออกกำลังกายมากเกินไป เช่น ออกกำลังกายโดยที่ไม่ได้วางแผนมาก่อน หรือออกกำลังกายเป็นเวลานานโดย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่ไม่ได้รับประทานอาหารว่างหรืออาหารขบเคี้ยว</span> \n</p>\n<p>\n             <span style=\"color: #008000\"> - ได้รับยารักษาเบาหวานในขนาดที่มากเกินไป หรือเปลี่ยนแปลงเวลารับประทานยารักษาเบาหวาน เช่น ได้รับ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"> อินซูลิน (Insulin) หรือยารักษาเบาหวานในขนาดที่มากไป หรือเปลี่ยนแปลงเวลารับประทานยา</span>\n</p>\n<p>\n              <span style=\"color: #3366ff\">- ความเครียด เช่น มีความเครียดมากเกินไป</span>\n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #008000\">   - ผลข้างเคียงของยาอื่น</span>\n</p>\n<p>\n              <span style=\"color: #3366ff\">- การดื่มแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งดื่มแอลกอฮอล์ขณะที่ท้องว่าง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #f20c76\">สาเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือสาเหตุร่วมกันของปัจจัยเหล่านี้ อาจก่อให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1719971252, expire = 1720057652, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5d2265d5e0f77b2a5ffc0deebd51edb8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระดับกลูโคสในเลือด

 

 

 

   7. ระดับกลูโคสในเลือด  

ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : http://numob.files.wordpress.com/2009/07/insulin-secretion-w500.jpg


                      ระดับกลูโคสในเลือดของหนูทดลองสูงสุดเวลาประมาณ 08.30 น. ต่ำสุดช่วงเวลา 20.30 น. แม้ในภาวะ

ที่หิวจัด ระดับกลูโคสก็จะดำรงอยู่เช่นนี้ไม่เปลี่ยนแปลง

 

                       ในร่างกายมนุษย์ ระดับน้ำตาลเริ่มลดลงตั้งแต่พลบค่ำ (18.00 น.) และค่อยๆ ลดลงต่ำสุดระหว่างเวลา

03.00 – 06.00 น. กฎเกณฑ์นี้นำมาประยุกต์กับการรักษาเบาหวาน ซึ่งมักจะต้องใช้ยาช่วงเวลากลางวัน ที่มีแนวโน้มน้ำตาลกลูโคส

ในเลือดสูง ถ้าผู้ป่วยกินยาลดน้ำตาลในเลือดเกินขนาด หรือมากเกินช่วงกลางคืน อาจเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำและมีอาการช็อกได้

 

                        การตรวจวัดระดับ กลูโคส (Glucose) ในเลือดด้วยตนเอง เป็นสิ่งสำคัญและเป็นหัวใจของการรักษาเบาหวาน

 หากท่านเป็นเบาหวาน การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด จะบอกท่านว่าการรักษาเบาหวานของท่านนั้นได้ผลหรือไม่ ซึ่งผลการตรวจ

วัดนี้จะเป็นแนวทางให้ท่านและคณะแพทย์ผู้ดูแลท่านปรับเปลี่ยนกระบวนการรักษาสำหรับท่านได้

 

                        การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตัวเอง เป็นทางที่ดีที่สุดที่จะบอกว่าร่างกายของท่าน มีการจัดการ

กับการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การใช้ยารักษาเบาหวาน ความเครียด และอาการเจ็บป่วยได้ดีมากน้อยอย่างไร

การตรวจวัดระดับกลูโคส (Glucose) ในเลือด จะทำให้ท่านทราบว่าเกิดอะไรขึ้นกับระดับน้ำตาลในเลือดของท่าน เมื่อท่าน

ได้รับประทานอาหารทั้งในชนิดและปริมาณที่เหมาะสม ออกกำลังกายที่เหมาะสม หรือลดหรือเพิ่มน้ำหนักแล้ว และท่านจะ

สามารถเห็นว่ายามีผลต่อระดับกลูโคสในเลือดของท่านอย่างไร ซึ่งจะทำให้ท่านทราบว่า การใช้ยาได้ผลหรือไม่ ผลการตรวจ

วัดระดับกลูโคสในเลือดของท่าน อาจทำให้ท่านเตรียมพร้อมว่า ท่านควรจะรับประทานอาหารว่างเข้าไปก่อนระหว่างมื้อ

หรือควรจะฉีดอินซูลิน (Insulin) เข้าไป หรือควรจะต้องไปเดินออกกำลังกาย

 

                         นอกจากนี้ การตรวจวัดระดับกลูโคสในเลือด ยังช่วยเตือนให้ท่านทราบว่าระดับกลูโคสของท่านนั้นสูง

ไปหรือต่ำไปเพียงไร ซึ่งท่านอาจจะต้องการการดูแลรักษาเป็นพิเศษก็ได้

 

ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) มีสาเหตุจาก ?

              - การได้รับอาหารมากไป หรือได้รับอาหารที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม 

              - การออกกำลังกายน้อยไป หรือไม่ได้ออกกำลังกายเลย

              - การได้รับยารักษาเบาหวานในขนาดที่น้อยไป หรือไม่ได้รับประทานยารักษาเบาหวานตามที่แพทย์แนะนำ

              - มีความเครียดมากเกินไป

              - มีการติดเชื้อหรือไม่สบาย

              - ร่างกายไม่สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสมต่อยารักษาเบาหวานที่รับประทานเข้าไป

              - การมีประจำเดือน

สาเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งหรือสาเหตุร่วมกันของปัจจัยดังกล่าวเหล่านี้ อาจนำไปสู่ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงได้

 

 

ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก :

 http://www.reginahealth.net/images/column1230112814/%AA%D1%E8%A7%B9%B9.jpg

 

ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) มีสาเหตุจาก ?

              - ไม่ได้ปฏิบัติตามในเรื่องแผนการรับประทานอาหารอย่างเคร่งครัด เช่น ไม่ได้รับอาหารที่เพียงพอ หรือมีการ

เปลี่ยนแปลงเวลารับประทานอาหาร

              - ออกกำลังกายมากเกินไป เช่น ออกกำลังกายโดยที่ไม่ได้วางแผนมาก่อน หรือออกกำลังกายเป็นเวลานานโดย

ที่ไม่ได้รับประทานอาหารว่างหรืออาหารขบเคี้ยว 

              - ได้รับยารักษาเบาหวานในขนาดที่มากเกินไป หรือเปลี่ยนแปลงเวลารับประทานยารักษาเบาหวาน เช่น ได้รับ

 อินซูลิน (Insulin) หรือยารักษาเบาหวานในขนาดที่มากไป หรือเปลี่ยนแปลงเวลารับประทานยา

              - ความเครียด เช่น มีความเครียดมากเกินไป

              - ผลข้างเคียงของยาอื่น

              - การดื่มแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งดื่มแอลกอฮอล์ขณะที่ท้องว่าง

สาเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือสาเหตุร่วมกันของปัจจัยเหล่านี้ อาจก่อให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้

 

 


 

สร้างโดย: 
นางสาว พธูกมล พานิชนก และนางสาว ศศนันท์ กฤษณะวนิช โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 402 คน กำลังออนไลน์