• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:309503a3270d600d47a2d7c01d4336b1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/1.jpg\" style=\"width: 628px; height: 124px\" align=\"top\" height=\"124\" width=\"600\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/45196\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/a.jpg\" style=\"width: 159px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47108\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/c.jpg\" style=\"width: 153px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47162\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/e.jpg\" style=\"width: 152px; height: 53px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47170\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/h.jpg\" style=\"width: 150px; height: 52px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47262\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/b.jpg\" style=\"width: 161px; height: 55px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/45873\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/d.jpg\" style=\"width: 156px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/46175\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/f.jpg\" style=\"width: 149px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/42214\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/clock111.jpg\" style=\"width: 130px; height: 146px\" align=\"top\" height=\"589\" width=\"387\" /> </a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/47afce77794ef.gif\" style=\"width: 588px; height: 27px\" height=\"30\" width=\"250\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #c0c0c0; color: #333333\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">   3. ความดันเลือด ระยะคลายตัวของหัวใจ   </span></strong></span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #0000ff\"> เวลา 09.00 น. ประมาณ 72-80 มม.ปรอท</span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #0000ff\"> เวลา 14.00 น. ประมาณ 84-90 มม.ปรอท</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #3366ff\">การเต้นของหัวใจแรงสุดประมาณ </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #008080\"> 08.00 น.</span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\"> <span style=\"color: #00ccff\">การเต้นของหัวใจต่ำสุดประมาณ </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #00ccff\"> 20.00 น.</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\"></span>\n</p>\n<p>\n<strong><em><span style=\"color: #ff0000\">ความดันเลือด</span></em></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n             <span style=\"color: #800080\"><strong><span style=\"color: #ff6600\">ความดันโลหิต</span></strong></span> หมายถึง <span style=\"color: #3366ff\">แรงดันของกระแสเลือดที่กระทบต่อผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการสูบฉีด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ของหัวใจ (คล้ายแรง ลมที่ดันผนังยางรถเวลาสูบลมเข้า) ซึ่งสามารถวัดโดยใช้ เครื่องวัดความดัน เครื่องวัดความดัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">(Sphygmomano meter) วัดที่แขน และมีค่าที่วัดได้ 2 ค่าคือ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                          <span style=\"color: #ff6600\"> 1.  ความดันช่วงบน หรือความดันซิสโตลี</span><span style=\"color: #ff6600\"> (Systolic blood pressure)</span> <span style=\"color: #3366ff\">หมายถึง แรงดันเลือดขณะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่หัวใจบีบตัว ซึ่งอาจจะสูงตามอายุ ความดันช่วงบนในคน ๆ เดียวกันอาจมีค่าแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ตามท่าของร่างกาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ และปริมาณของการออกกำลัง  </span>\n</p>\n<p>\n                           <span style=\"color: #ff6600\">2. ความดันช่วงล่าง หรือความดันไดแอสโตลี (Diastolic blood pressure )</span> <span style=\"color: #3366ff\">หมายถึง แรงดันเลือดขณะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่หัวใจคลายตัว ในปัจจุบัน ได้มีการกำหนดค่าความดันโลหิต และระดับความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผู้ที่มีอายุ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป (โดยการวัดในท่านั่ง วัดอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป แล้วคิดเป็นค่าเฉลี่ย) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99; color: #333333\"> <strong> <span style=\"color: #ff0000\">ความดันช่วงบน</span></strong>  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"> ปกติ มีค่าต่ำกว่า 130 มม.ปรอท (ทอรร์)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ปกติแต่ค่อนข้างสูง มีค่าระหว่าง 130-139 มม.ปรอท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ความดันสูงเล็กน้อย มีค่าระหว่าง 140-159 มม.ปรอท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\">ความดันสูงปานกลาง มีค่าระหว่าง 160-179 มม.ปรอท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ความดันสูงรุนแรง มีค่าระหว่าง 180-209 มม.ปรอท</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ความดันสูงรุนแรงมาก มีค่าตั้งแต่ 210</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\">มม.ปรอท</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ขึ้นไป</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99; color: #ff0000\"><strong>  ความดันช่วงล่าง  </strong></span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003300\">ปกติ มีค่าต่ำกว่า 85 มม.ปรอท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ปกติแต่ค่อนข้างสูง มีค่าระหว่าง 85-89 มม.ปรอท</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\">ความดันสูงเล็กน้อย มีค่าระหว่าง 90-99 มม.ปรอท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003300\">ความดันสูงปานกลาง มีค่าระหว่าง 100-109 มม.ปรอท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ความดันสูงรุนแรง มีค่าระหว่าง 110-119 มม.ปรอท</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\">ความดันสูงรุนแรงมาก มีค่าตั้งแต่ 120</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003300\">มม.ปรอท </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ขึ้นไป </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><em><span style=\"color: #ff0000\">ระยะคลายตัวของหัวใจ</span></em></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n             <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff6600\">****การบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ</span></span>\n</p>\n<p>\n                          <span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">หัวใจเต้น 1 ครั้งจะประกอบด้วยการบีบตัวและการคลายตัวของหัวใจทั้งบนและล่าง ซึ่งโดยปกติ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">เราจะแบ่งจังหวะการเต้นของ </span><span style=\"color: #ff00ff\">หัวใจเป็น 2 จังหวะโดยยึดตามหัวใจห้องล่างเป็นหลักคือ</span></span>\n</p>\n<p>\n                        <span style=\"color: #ff6600\">  1. จังหวะการบีบตัว เราเรียกว่า systole </span><span style=\"color: #3366ff\">จะเป็นจังหวะที่ลิ้นหัวใจไตรคัสปิดและลิ้นหัวใจไมตรัลปิด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">และหัวใจห้องล่างขวา-ซ้ายบีบตัวเพื่อนำเลือดผ่านลิ้นหัวใจพัลโมนารี่และลิ้นหัวใจเอออร์ติคซึ่งเปิดออก ไปสู่ เส้นเลือดแดงพัลโมนารี่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">และเส้นเลือดแดงเอออร์ตา ตามลำดับ </span>\n</p>\n<p>\n                          <span style=\"color: #ff6600\">2. จังหวะการคลายตัว เราเรียกว่า diastole</span> <span style=\"color: #3366ff\">จะเป็นจังหวะที่ลิ้นหัวใจพัลโมนารี่และลิ้นหัวใจเอออร์ติคปิด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> ส่วนลิ้นหัวใจ ไตรคัสปิด และ ลิ้นหัวใจไมตรัล จะเปิดออกทำให้เลือดที่อยู่ในหัวใจห้องบนไหลลงสู่หัวใจห้องล่าง ซึ่งเป็นจังหวะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เดียวกับ ที่หัวใจห้องล่าง ทั้งขวาและ ซ้ายคลายตัวเพื่อรับเลือดนั่นเอง   ในช่วงจังหวะปลายของระยะนี้ หัวใจห้องบนทั้งขวา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">และซ้ายจะ บีบเค้น เอาเลือดส่วนที่เหลือให้ ออกจาก หัวใจห้องบนลงสู่หัวใจห้องล่าง </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                           <span style=\"color: #3366ff\">จากนั้นจะเริ่มเข้ารอบใหม่ของการเต้นของหัวใจคือ systole   คือ ลิ้นหัวใจไตรคัสปิด และลิ้นหัวใจ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> ไมตรัลจะปิดอีกครั้งเพื่อเตรียมให้หัวใจห้องล่างบีบเลือดส่งออกไป  โดยหัวใจห้องล่างขวาบีบ เลือดไปที่เส้นเลือด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">แดงพัลโมนารี่(ซึ่งที่จริงแล้วมีแต่เลือดดำ) เพื่อ<span style=\"color: #ff6600\">ไปฟอกเลือดที่ปอดและหัวใจห้องล่างซ้าย</span> บีบเลือดไปที่เส้นเลือด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">แดงเอออร์ตา เพื่อนำเลือดแดงไปเลึ้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ffcc00\">    <span style=\"background-color: #808080\"><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">    <u>อัตราการเต้นของหัวใจ ปกติเป็นอย่างไร?</u>   </span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n     \n</p>\n<p>\n             <span style=\"color: #ff6600\">ปกติในผู้ใหญ่ อัตราเต้นเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้งต่อนาที</span> <span style=\"color: #3366ff\">(ประมาณ ช่วง 60-80 ครั้งต่อนาที) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">หรือ ถ้าเอาง่ายๆ คือ ไม่เกิน 100 ถือว่าใช้ได้ แต่ถ้าเกิน ต้องระวังโรคต่างๆเช่นโรคหัวใจ โรคไทรอยด์เป็นพิษ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ถ้าเต้นช้า แต่ไม่มีอาการหรือโรคอะไร ไม่เป็นไร เช่นนักกีฬา ที่ฟิตมากๆ บางครั้งอัตราการเต้นหัวใจลดเหลือแค่ 40-50 ครั้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ต่อนาทีเท่านั้น(พวกนี้จะเหนื่อยยากกว่าคนปกติ)</span> <span style=\"color: #ff6600\">แต่เด็กทารกเล็กๆ จะมีอัตราการเต้นสูงกว่าคนโต</span> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                                                                             <span style=\"color: #000000\">  <strong><em>โดย นพ.สมนึก ตปนียวรวงศ์</em></strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1719972172, expire = 1720058572, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:309503a3270d600d47a2d7c01d4336b1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความดันเลือด ระยะคลายตัวของหัวใจ

 

 

 

   3. ความดันเลือด ระยะคลายตัวของหัวใจ    


 เวลา 09.00 น. ประมาณ 72-80 มม.ปรอท

 เวลา 14.00 น. ประมาณ 84-90 มม.ปรอท

การเต้นของหัวใจแรงสุดประมาณ

 08.00 น.

 การเต้นของหัวใจต่ำสุดประมาณ

 20.00 น.

ความดันเลือด

             ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันของกระแสเลือดที่กระทบต่อผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการสูบฉีด

ของหัวใจ (คล้ายแรง ลมที่ดันผนังยางรถเวลาสูบลมเข้า) ซึ่งสามารถวัดโดยใช้ เครื่องวัดความดัน เครื่องวัดความดัน

(Sphygmomano meter) วัดที่แขน และมีค่าที่วัดได้ 2 ค่าคือ

 

                           1.  ความดันช่วงบน หรือความดันซิสโตลี (Systolic blood pressure) หมายถึง แรงดันเลือดขณะ

ที่หัวใจบีบตัว ซึ่งอาจจะสูงตามอายุ ความดันช่วงบนในคน ๆ เดียวกันอาจมีค่าแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ตามท่าของร่างกาย

การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ และปริมาณของการออกกำลัง 

                           2. ความดันช่วงล่าง หรือความดันไดแอสโตลี (Diastolic blood pressure ) หมายถึง แรงดันเลือดขณะ

ที่หัวใจคลายตัว ในปัจจุบัน ได้มีการกำหนดค่าความดันโลหิต และระดับความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผู้ที่มีอายุ

ตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป (โดยการวัดในท่านั่ง วัดอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป แล้วคิดเป็นค่าเฉลี่ย)

 

  ความดันช่วงบน  

 ปกติ มีค่าต่ำกว่า 130 มม.ปรอท (ทอรร์)

ปกติแต่ค่อนข้างสูง มีค่าระหว่าง 130-139 มม.ปรอท

ความดันสูงเล็กน้อย มีค่าระหว่าง 140-159 มม.ปรอท

ความดันสูงปานกลาง มีค่าระหว่าง 160-179 มม.ปรอท

ความดันสูงรุนแรง มีค่าระหว่าง 180-209 มม.ปรอท

ความดันสูงรุนแรงมาก มีค่าตั้งแต่ 210

มม.ปรอท

ขึ้นไป

 

  ความดันช่วงล่าง   

ปกติ มีค่าต่ำกว่า 85 มม.ปรอท

ปกติแต่ค่อนข้างสูง มีค่าระหว่าง 85-89 มม.ปรอท

ความดันสูงเล็กน้อย มีค่าระหว่าง 90-99 มม.ปรอท

ความดันสูงปานกลาง มีค่าระหว่าง 100-109 มม.ปรอท

ความดันสูงรุนแรง มีค่าระหว่าง 110-119 มม.ปรอท

ความดันสูงรุนแรงมาก มีค่าตั้งแต่ 120

มม.ปรอท

ขึ้นไป

 

ระยะคลายตัวของหัวใจ

 

             ****การบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ

                          หัวใจเต้น 1 ครั้งจะประกอบด้วยการบีบตัวและการคลายตัวของหัวใจทั้งบนและล่าง ซึ่งโดยปกติ

เราจะแบ่งจังหวะการเต้นของ หัวใจเป็น 2 จังหวะโดยยึดตามหัวใจห้องล่างเป็นหลักคือ

                          1. จังหวะการบีบตัว เราเรียกว่า systole จะเป็นจังหวะที่ลิ้นหัวใจไตรคัสปิดและลิ้นหัวใจไมตรัลปิด

และหัวใจห้องล่างขวา-ซ้ายบีบตัวเพื่อนำเลือดผ่านลิ้นหัวใจพัลโมนารี่และลิ้นหัวใจเอออร์ติคซึ่งเปิดออก ไปสู่ เส้นเลือดแดงพัลโมนารี่

และเส้นเลือดแดงเอออร์ตา ตามลำดับ

                          2. จังหวะการคลายตัว เราเรียกว่า diastole จะเป็นจังหวะที่ลิ้นหัวใจพัลโมนารี่และลิ้นหัวใจเอออร์ติคปิด

 ส่วนลิ้นหัวใจ ไตรคัสปิด และ ลิ้นหัวใจไมตรัล จะเปิดออกทำให้เลือดที่อยู่ในหัวใจห้องบนไหลลงสู่หัวใจห้องล่าง ซึ่งเป็นจังหวะ

เดียวกับ ที่หัวใจห้องล่าง ทั้งขวาและ ซ้ายคลายตัวเพื่อรับเลือดนั่นเอง   ในช่วงจังหวะปลายของระยะนี้ หัวใจห้องบนทั้งขวา

และซ้ายจะ บีบเค้น เอาเลือดส่วนที่เหลือให้ ออกจาก หัวใจห้องบนลงสู่หัวใจห้องล่าง

 

                           จากนั้นจะเริ่มเข้ารอบใหม่ของการเต้นของหัวใจคือ systole   คือ ลิ้นหัวใจไตรคัสปิด และลิ้นหัวใจ

 ไมตรัลจะปิดอีกครั้งเพื่อเตรียมให้หัวใจห้องล่างบีบเลือดส่งออกไป  โดยหัวใจห้องล่างขวาบีบ เลือดไปที่เส้นเลือด

แดงพัลโมนารี่(ซึ่งที่จริงแล้วมีแต่เลือดดำ) เพื่อไปฟอกเลือดที่ปอดและหัวใจห้องล่างซ้าย บีบเลือดไปที่เส้นเลือด

แดงเอออร์ตา เพื่อนำเลือดแดงไปเลึ้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย

 

        อัตราการเต้นของหัวใจ ปกติเป็นอย่างไร?   

     

             ปกติในผู้ใหญ่ อัตราเต้นเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้งต่อนาที (ประมาณ ช่วง 60-80 ครั้งต่อนาที)

หรือ ถ้าเอาง่ายๆ คือ ไม่เกิน 100 ถือว่าใช้ได้ แต่ถ้าเกิน ต้องระวังโรคต่างๆเช่นโรคหัวใจ โรคไทรอยด์เป็นพิษ

ถ้าเต้นช้า แต่ไม่มีอาการหรือโรคอะไร ไม่เป็นไร เช่นนักกีฬา ที่ฟิตมากๆ บางครั้งอัตราการเต้นหัวใจลดเหลือแค่ 40-50 ครั้ง

ต่อนาทีเท่านั้น(พวกนี้จะเหนื่อยยากกว่าคนปกติ) แต่เด็กทารกเล็กๆ จะมีอัตราการเต้นสูงกว่าคนโต 

 

                                                                                                               โดย นพ.สมนึก ตปนียวรวงศ์


 

สร้างโดย: 
นางสาว พธูกมล พานิชนก และนางสาว ศศนันท์ กฤษณะวนิช โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 421 คน กำลังออนไลน์