• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4bbf93b7e44614f672bb09305b120890' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/1.jpg\" style=\"width: 628px; height: 124px\" align=\"top\" height=\"124\" width=\"600\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/45196\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/a.jpg\" style=\"width: 159px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47108\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/c.jpg\" style=\"width: 153px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47162\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/e.jpg\" style=\"width: 152px; height: 53px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47170\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/h.jpg\" style=\"width: 150px; height: 52px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47262\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/b.jpg\" style=\"width: 161px; height: 55px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/45873\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/d.jpg\" style=\"width: 156px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/46175\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/f.jpg\" style=\"width: 149px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/42214\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/clock111.jpg\" style=\"width: 130px; height: 146px\" align=\"top\" height=\"589\" width=\"387\" /> </a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/47afce77794ef.gif\" style=\"width: 588px; height: 27px\" height=\"30\" width=\"250\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #bd415d\"><span style=\"color: #ff0000\">&quot;รูปธรรมในการวางแผนอย่างเป็นระบบตามกฎเกณฑ์ </span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #bd415d\"><span style=\"color: #ff0000\">ของนาฬิกาชีวิต คืออะไร&quot;</span></span></span> </span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #008080\">    </span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #f40a84\">สรุปได้เป็น 3 มาตรการใหญ่ คือ</span> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                <span style=\"color: #ff0000\">1. ปรับให้สอดคล้อง</span>\n</p>\n<p>\n                     <span style=\"color: #3366ff\"> - พยายามยึดกฎเกณฑ์นาฬิกาชีวิตให้มากที่สุด หลีกเลี่ยงการละเมิดกฎเกณฑ์ ในเมื่อการเคลื่อนไหวของ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ชีวิตถูกกำหนดควบคุมอย่างมีกฎเกณฑ์ การเคลื่อนไหวทั้งมวลของชีวิต ควรมีจังหวะที่เป็นหนึ่งเดียวกันกับธรรมชาติ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ตัวอย่างเช่น</span>\n</p>\n<p>\n                       <span style=\"color: #3366ff\">ยามเช้า ขณะที่ยังไม่ตื่นนอน หรือกำลังหลับอยู่ ร่างกายได้ถูกเตรียมความพร้อม ทำให้ความดันเลือด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">การเต้นของหัวใจ การหายใจ เริ่มได้รับการกระตุ้นจากระบบประสาทซิมพาเทติก ทำให้เพิ่มการทำงานมากขึ้น ปลุกให้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">คนที่หลับอยู่ตื่นนอนขึ้นมา เพื่อรับกับสภาพการทำกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวช่วงกลางวัน ช่วงกลางคืน สภาพตรงกันข้าม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ร่างกายเริ่มอ่อนล้า การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติเกี่ยวกับการกระตุ้นลดถอยลง การเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ความดันเลือด ก็ค่อยๆ น้อยลง ร่างกายจะรู้สึกอ่อนเพลีย อยากนอนหลับพักผ่อน การรู้จักยึดกุมเวลาตื่นนอน และเวลา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">หลับนอน เป็นเรื่องพื้นฐานที่ต้องปฏิบัติ ถ้าใช้เวลากลางคืนทำงาน กลางวันนอนหลับ ก็คือ</span> <span style=\"color: #ff6600\">การดำเนินชีวิตไม่เป็นจังหวะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">สอดคล้องกับนาฬิกาชีวิต จะเป็นการทำลายร่างกาย ทำให้เสื่อมชราเร็ว </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                     <span style=\"color: #3366ff\">การศึกษาวิจัยพบว่า ถ้าละเมิดกฎเกณฑ์ธรรมชาติ 1 ครั้ง ต้องอาศัยเวลาในการฟื้นฟูนาน 5-6 วัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">คนวัยทำงาน โดยปกติจะตื่นนอนตอนเช้า เมื่อถึงปลายสัปดาห์หรือวันหยุด จะเลี้ยงฉลองกันดึก นอนดึก เที่ยวกลางคืน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">จนดึกดื่น กว่าจะหลับนอนก็เลยเที่ยงคืน ตี 1 ตี 2 หรือไม่ก็เกือบจะหัวรุ่ง ทำให้ต้องตื่นนอนสายเกือบเที่ยง ไม่ได้รับ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">อาหารเช้า พฤติกรรมนอนดึก ตื่นสาย ทำลายกฎเกณฑ์ธรรมชาติ 2 ครั้ง ต้องฟื้นฟู 5-6 วัน ก็พอดีครบรอบ 1 สัปดาห์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">พอถึงศุกร์-เสาร์ พฤติกรรมการทำลายเริ่มกลับเข้าวงจรใหม่อีกครั้ง การฟื้นฟูยังไม่ทันเข้าที่ การทำลายรอบใหม่ตามมาอีก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">นี่คือการสึกกร่อนอย่างต่อเนื่อง ความเสื่อมชราเริ่มมากขึ้น อายุขัยเริ่มสั้นลง ผู้เชี่ยวชาญศาสตร์การดูแลสุขภาพบาง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ท่านกล่าวไว้น่าฟังว่า</span>\n</p>\n<p>\n                    <span style=\"color: #ff6600\">&quot; </span><span style=\"color: #ff6600\">การทำงานและวิถีชีวิตที่ไม่ดี บางครั้งเป็นสิ่งที่คนวัยหนุ่มสาว ยอมเสียสละสุขภาพที่ดีไปแลกเอามาเพื่อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ให้ได้ทรัพย์สิน </span><span style=\"color: #3366ff\">แต่พออายุมากแก่ชราจะเอาทรัพย์สินไปซื้อสุขภาพที่ดีคืนมา ซึ่งไม่คุ้มค่า เพราะทรัพย์สินไม่สามารถซื้อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ความเสื่อมกลับมาได้อีกแล้ว &quot;</span> <span style=\"color: #ff6600\">หนทางเดียวที่จะถนอมและทำให้สุขภาพดีคือการเริ่มต้นปฏิบัติตัวตั้งแต่บัดนี้ โดยเฉพาะใน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ช่วงที่ร่างกายแข็งแรงอยู่ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/exercise.gif\" align=\"middle\" height=\"300\" width=\"384\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : <a href=\"http://pirun.ku.ac.th/~b5043135/piz/exercise.gif\">http://pirun.ku.ac.th/~b5043135/piz/exercise.gif</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719807977, expire = 1719894377, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4bbf93b7e44614f672bb09305b120890' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รูปธรรมการวางแผนเป็นระบบตามกฎเกณฑ์นาฬิกาชีวิต

 

 

 

"รูปธรรมในการวางแผนอย่างเป็นระบบตามกฎเกณฑ์

ของนาฬิกาชีวิต คืออะไร"

 

     สรุปได้เป็น 3 มาตรการใหญ่ คือ

 

                1. ปรับให้สอดคล้อง

                      - พยายามยึดกฎเกณฑ์นาฬิกาชีวิตให้มากที่สุด หลีกเลี่ยงการละเมิดกฎเกณฑ์ ในเมื่อการเคลื่อนไหวของ

ชีวิตถูกกำหนดควบคุมอย่างมีกฎเกณฑ์ การเคลื่อนไหวทั้งมวลของชีวิต ควรมีจังหวะที่เป็นหนึ่งเดียวกันกับธรรมชาติ

 

ตัวอย่างเช่น

                       ยามเช้า ขณะที่ยังไม่ตื่นนอน หรือกำลังหลับอยู่ ร่างกายได้ถูกเตรียมความพร้อม ทำให้ความดันเลือด

การเต้นของหัวใจ การหายใจ เริ่มได้รับการกระตุ้นจากระบบประสาทซิมพาเทติก ทำให้เพิ่มการทำงานมากขึ้น ปลุกให้

คนที่หลับอยู่ตื่นนอนขึ้นมา เพื่อรับกับสภาพการทำกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวช่วงกลางวัน ช่วงกลางคืน สภาพตรงกันข้าม

ร่างกายเริ่มอ่อนล้า การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติเกี่ยวกับการกระตุ้นลดถอยลง การเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ

ความดันเลือด ก็ค่อยๆ น้อยลง ร่างกายจะรู้สึกอ่อนเพลีย อยากนอนหลับพักผ่อน การรู้จักยึดกุมเวลาตื่นนอน และเวลา

หลับนอน เป็นเรื่องพื้นฐานที่ต้องปฏิบัติ ถ้าใช้เวลากลางคืนทำงาน กลางวันนอนหลับ ก็คือ การดำเนินชีวิตไม่เป็นจังหวะ

สอดคล้องกับนาฬิกาชีวิต จะเป็นการทำลายร่างกาย ทำให้เสื่อมชราเร็ว

 

                     การศึกษาวิจัยพบว่า ถ้าละเมิดกฎเกณฑ์ธรรมชาติ 1 ครั้ง ต้องอาศัยเวลาในการฟื้นฟูนาน 5-6 วัน

คนวัยทำงาน โดยปกติจะตื่นนอนตอนเช้า เมื่อถึงปลายสัปดาห์หรือวันหยุด จะเลี้ยงฉลองกันดึก นอนดึก เที่ยวกลางคืน

จนดึกดื่น กว่าจะหลับนอนก็เลยเที่ยงคืน ตี 1 ตี 2 หรือไม่ก็เกือบจะหัวรุ่ง ทำให้ต้องตื่นนอนสายเกือบเที่ยง ไม่ได้รับ

อาหารเช้า พฤติกรรมนอนดึก ตื่นสาย ทำลายกฎเกณฑ์ธรรมชาติ 2 ครั้ง ต้องฟื้นฟู 5-6 วัน ก็พอดีครบรอบ 1 สัปดาห์

พอถึงศุกร์-เสาร์ พฤติกรรมการทำลายเริ่มกลับเข้าวงจรใหม่อีกครั้ง การฟื้นฟูยังไม่ทันเข้าที่ การทำลายรอบใหม่ตามมาอีก

นี่คือการสึกกร่อนอย่างต่อเนื่อง ความเสื่อมชราเริ่มมากขึ้น อายุขัยเริ่มสั้นลง ผู้เชี่ยวชาญศาสตร์การดูแลสุขภาพบาง

ท่านกล่าวไว้น่าฟังว่า

                    " การทำงานและวิถีชีวิตที่ไม่ดี บางครั้งเป็นสิ่งที่คนวัยหนุ่มสาว ยอมเสียสละสุขภาพที่ดีไปแลกเอามาเพื่อ

ให้ได้ทรัพย์สิน แต่พออายุมากแก่ชราจะเอาทรัพย์สินไปซื้อสุขภาพที่ดีคืนมา ซึ่งไม่คุ้มค่า เพราะทรัพย์สินไม่สามารถซื้อ

ความเสื่อมกลับมาได้อีกแล้ว " หนทางเดียวที่จะถนอมและทำให้สุขภาพดีคือการเริ่มต้นปฏิบัติตัวตั้งแต่บัดนี้ โดยเฉพาะใน

ช่วงที่ร่างกายแข็งแรงอยู่

 

 

ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : http://pirun.ku.ac.th/~b5043135/piz/exercise.gif

 

 

สร้างโดย: 
นางสาว พธูกมล พานิชนก และนางสาว ศศนันท์ กฤษณะวนิช โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 574 คน กำลังออนไลน์