• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0865c39200dd2724dc7d10de40dc9317' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/45009\"><img src=\"/files/u19240/home.gif\" width=\"56\" height=\"53\" />     </a><a href=\"/node/45009?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u19240/Untitled-1_1.jpg\" width=\"105\" height=\"27\" /></a>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #0000ff\">  บรรทัดฐานทางสังคม </span></b>   หมายถึง  ระเบียบ กฎเกณฑ์  หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สังคมยอมรับเป็นแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติในแต่ละสถานการณ์   \n</p>\n<p>\nสรุปได้ว่า...</p>\n<p>1. บรรทัดฐานทางสังคม  เป็นระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สมาชิกในสังคมยอมรับร่วมกัน และได้ประพฤติสืบต่อกันมา<br />\n2. บรรทัดฐานทางสังคมเป็นระเบียบ  กล่าวคือ  แบบแผนความประพฤติที่เห็นว่าถูกต้องในสถานการณ์หนึ่งอาจนำไปใช้ในอีกสถานการณ์หนึ่งไม่ได้</p>\n<p><b><span style=\"color: #800080\">ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม</span></b>\n</p>\n<p>\n1. วิถีประชา/วิถีชาวบ้าน (Folkways)  หมายถึง  แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติด้วยความเคยชิน เนื่องจากได้รับการปลูกฝังถ่ายทอดมาตั้งแต่วัยเด็กจนเติบใหญ่  แม้ว่าจะไม่มีการกำหนดโทษผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนอย่างเข้มงวด  แต่อาจถูกคนอื่นเยาะเย้ย ถากถาง หรือได้รับการนินทา ทำให้สมาชิกต้องปฏิบัติตามวิถีชาวบ้าน  จนเกิดความเป็นระเบียบทางสังคมในที่สุด\n</p>\n<p>\n2. จารีต  (Mores) หมายถึง  แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติในสถานการณ์ต่าง ๆ  โดยผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนจะได้รับการต่อต้านจากสมาชิกในสังคมอย่างจริงจัง เนื่องจากมีผลกระทบต่อระบบสัมพันธ์ของสมาชิกเป็นส่วนรวม\n</p>\n<p>\n3. กฎหมาย (Laws)  หมายถึง  กฎเกณฑ์ของความประพฤติซึ่งสร้างขึ้นโดยองค์การทางการเมืองการปกครอง และโดยได้รับการรับรองจากองค์กรของรัฐ\n</p>\n<p>\nกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่มีลักษณะสำคัญ  ดังนี้<br />\n1) เป็นกฎเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติของสมาชิกในสังคมที่บัญญัติเป็นทางการโดยองค์การของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่ในการบัญญัติกฎหมาย\n</p>\n<p>\n2) มีการประกาศรายละเอียดของกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษร\n</p>\n<p>\n3) มีองค์การที่หน้าที่ควบคุมให้สมาชิกปฏิบัติตามกฎหมาย\n</p>\n<p>\n4) มีบทลงโทษผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนกฎหมาย        \n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff9900\">ข้อสังเกตเกี่ยวกับบรรทัดฐาน</span></b>\n</p>\n<p>\n1. บรรทัดฐานแต่ละท้องถิ่นสอดคล้องหรือแตกต่างก็ได้\n</p>\n<p>\n2. บรรทัดฐานแต่ละท้องถิ่นสามารถเปลี่ยนแปลงได้\n</p>\n<p>\n3. สังคมชนบทมักใช้จารีตมากกว่า  ส่วนสังคมเมืองมักใช้กฎหมายเป็นบรรทัดฐาน \n</p>\n', created = 1715336804, expire = 1715423204, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0865c39200dd2724dc7d10de40dc9317' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บรรทัดฐาน

 

   

  บรรทัดฐานทางสังคม    หมายถึง  ระเบียบ กฎเกณฑ์  หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สังคมยอมรับเป็นแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติในแต่ละสถานการณ์   

สรุปได้ว่า...

1. บรรทัดฐานทางสังคม  เป็นระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สมาชิกในสังคมยอมรับร่วมกัน และได้ประพฤติสืบต่อกันมา
2. บรรทัดฐานทางสังคมเป็นระเบียบ  กล่าวคือ  แบบแผนความประพฤติที่เห็นว่าถูกต้องในสถานการณ์หนึ่งอาจนำไปใช้ในอีกสถานการณ์หนึ่งไม่ได้

ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม

1. วิถีประชา/วิถีชาวบ้าน (Folkways)  หมายถึง  แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติด้วยความเคยชิน เนื่องจากได้รับการปลูกฝังถ่ายทอดมาตั้งแต่วัยเด็กจนเติบใหญ่  แม้ว่าจะไม่มีการกำหนดโทษผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนอย่างเข้มงวด  แต่อาจถูกคนอื่นเยาะเย้ย ถากถาง หรือได้รับการนินทา ทำให้สมาชิกต้องปฏิบัติตามวิถีชาวบ้าน  จนเกิดความเป็นระเบียบทางสังคมในที่สุด

2. จารีต  (Mores) หมายถึง  แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติในสถานการณ์ต่าง ๆ  โดยผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนจะได้รับการต่อต้านจากสมาชิกในสังคมอย่างจริงจัง เนื่องจากมีผลกระทบต่อระบบสัมพันธ์ของสมาชิกเป็นส่วนรวม

3. กฎหมาย (Laws)  หมายถึง  กฎเกณฑ์ของความประพฤติซึ่งสร้างขึ้นโดยองค์การทางการเมืองการปกครอง และโดยได้รับการรับรองจากองค์กรของรัฐ

กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่มีลักษณะสำคัญ  ดังนี้
1) เป็นกฎเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติของสมาชิกในสังคมที่บัญญัติเป็นทางการโดยองค์การของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่ในการบัญญัติกฎหมาย

2) มีการประกาศรายละเอียดของกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษร

3) มีองค์การที่หน้าที่ควบคุมให้สมาชิกปฏิบัติตามกฎหมาย

4) มีบทลงโทษผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนกฎหมาย        

ข้อสังเกตเกี่ยวกับบรรทัดฐาน

1. บรรทัดฐานแต่ละท้องถิ่นสอดคล้องหรือแตกต่างก็ได้

2. บรรทัดฐานแต่ละท้องถิ่นสามารถเปลี่ยนแปลงได้

3. สังคมชนบทมักใช้จารีตมากกว่า  ส่วนสังคมเมืองมักใช้กฎหมายเป็นบรรทัดฐาน 

สร้างโดย: 
คุณคูรธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวกาญจน์มณี จรุงพรสวัสดิ์ (โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 279 คน กำลังออนไลน์