• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2fd57637bf3bd68f9b3b02dfe1904615' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43871\" title=\"Backward : ประโยชน์ของเกลือ\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/43876\" title=\"Forward : การไฮโดรไลซิสเกลือ(2)\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44756\" title=\"Mainpage : เกลือ\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/24_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสของเกลือ (Hydrolysis of Salts)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>        </strong><span style=\"color: #987017\">ไฮโดรไลซีส หมายถึง ปฏิกิริยาระหว่างสาร(เกลือ) กับน้ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">        ไฮโดรไลซีสของเกลือ หมายถึง ปฏิกิริยาระหว่างเกลือกับน้ำ ซึ่งเกลือเป็นอิเล็กโทรไลต์แก่ เมื่อละลายน้ำแล้วจะแตกตัวออกเป็นไอออนบวกและลบทั้งหมด ดังนั้นสมบัติของสารละลายเกลือจึงขึ้นอยู่กับไอออนบวกและลบในสารละลายนั้น ไอออนบางตัวสามารถทำปฏิกิริยากับน้ำและให้ H<sup>+</sup> หรือ OH<sup>-</sup> ได้ จึงเรียกว่า ปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส เช่น </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"488\" src=\"/files/u18699/24_1.gif\" height=\"222\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"556\" src=\"/files/u18699/24_2.gif\" height=\"254\" />\n</div>\n<p>\n<strong>         <span style=\"color: #987017\"> </span></strong><span style=\"color: #987017\">สรุปได้ว่า ถ้าไอออนลบของเกลือเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสจะทำให้สารละลายแสดงความเป็นเบส แต่ถ้าไอออนบวกของเกลือเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส จะทำให้สารละลายแสดงความเป็นกรด</span>\n</p>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">หลักในการพิจารณาว่าไอออนลบใดสามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสได้ มีหลักพิจารณา ดังนี้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">1. ไอออนลบของกรดแก่ เช่น Cl<sup>-</sup>, Br<sup>-</sup>, I<sup>-</sup>, NO<sup>3-</sup> และ ClO<sup>4-</sup> จะไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ จึงทำให้ไม่มีผลต่อความเป็นกรด - เบสของสารละลาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          2. ไอออนลบของกรดอ่อน เช่น CH<sub>3</sub>COO<sup>-</sup>, ClO<sup>-</sup>, CN<sup>-</sup> และ CO<sub>3</sub><sup>2-</sup> จะรับโปรตอนจากน้ำ ทำให้เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสได้สารละลายที่มีความเป็นเบส เช่น</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"516\" src=\"/files/u18699/24_3.gif\" height=\"126\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">หลักในการพิจารณาว่าไอออนบวกใดสามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสได้ มีหลักพิจารณาดังนี้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">1. ไอออนบวกของโลหะหมู่ IA หรือ IIA (ยกเว้น Be) ได้แก่ Li<sup>+</sup>, Na<sup>+</sup>, K<sup>+</sup>, Mg<sup>2+</sup>, Ca<sup>2+</sup> และ Ba<sup>2+</sup> จะไม่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส รวมถึงไอออนบวกของเบสแก่ทั้งหมดด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          2. NH<sub>3</sub><sup>+</sup> ของเกลือแอมโมเนียม จะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสจึงทำให้สารละลายเป็นกรด</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1729636198, expire = 1729722598, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2fd57637bf3bd68f9b3b02dfe1904615' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การไฮโดรไลซิสเกลือ(1)

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 ปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสของเกลือ (Hydrolysis of Salts)

        ไฮโดรไลซีส หมายถึง ปฏิกิริยาระหว่างสาร(เกลือ) กับน้ำ

        ไฮโดรไลซีสของเกลือ หมายถึง ปฏิกิริยาระหว่างเกลือกับน้ำ ซึ่งเกลือเป็นอิเล็กโทรไลต์แก่ เมื่อละลายน้ำแล้วจะแตกตัวออกเป็นไอออนบวกและลบทั้งหมด ดังนั้นสมบัติของสารละลายเกลือจึงขึ้นอยู่กับไอออนบวกและลบในสารละลายนั้น ไอออนบางตัวสามารถทำปฏิกิริยากับน้ำและให้ H+ หรือ OH- ได้ จึงเรียกว่า ปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส เช่น

 
 

          สรุปได้ว่า ถ้าไอออนลบของเกลือเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสจะทำให้สารละลายแสดงความเป็นเบส แต่ถ้าไอออนบวกของเกลือเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส จะทำให้สารละลายแสดงความเป็นกรด

 หลักในการพิจารณาว่าไอออนลบใดสามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสได้ มีหลักพิจารณา ดังนี้

          1. ไอออนลบของกรดแก่ เช่น Cl-, Br-, I-, NO3- และ ClO4- จะไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ จึงทำให้ไม่มีผลต่อความเป็นกรด - เบสของสารละลาย

          2. ไอออนลบของกรดอ่อน เช่น CH3COO-, ClO-, CN- และ CO32- จะรับโปรตอนจากน้ำ ทำให้เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสได้สารละลายที่มีความเป็นเบส เช่น

 

 หลักในการพิจารณาว่าไอออนบวกใดสามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสได้ มีหลักพิจารณาดังนี้

          1. ไอออนบวกของโลหะหมู่ IA หรือ IIA (ยกเว้น Be) ได้แก่ Li+, Na+, K+, Mg2+, Ca2+ และ Ba2+ จะไม่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส รวมถึงไอออนบวกของเบสแก่ทั้งหมดด้วย

          2. NH3+ ของเกลือแอมโมเนียม จะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสจึงทำให้สารละลายเป็นกรด

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 411 คน กำลังออนไลน์