• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e678ebffa5eb35ed89a958b064d55c6c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff0000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กระซู่</span></strong><b><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff0000\" lang=\"TH\"><br />\n<strong><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">(</span></strong></span></b><strong><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff0000; font-family: \'Angsana New\'\">Didemocerus sumatraensis)<br />\n</span></strong><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff0000\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><strong><img src=\"http://www.baanjomyut.com/library/wild_animal2/02.jpg\" />  <br />\n<span style=\"font-family: Angsana New\">ชื่อสามัญ</span></strong><span style=\"font-size: large\"><strong> : Sumatran Rhinoceros<br />\n</strong><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"font-family: Angsana New\">ชื่อวิทยาศาสตร์</span> : <i>Dicermocerus sumatraensis</i><br />\n<span lang=\"TH\">ชื่ออื่น</span> : <br />\n<span lang=\"TH\">แรดสุมาตรา</span><o:p></o:p></strong></span></span><strong> <span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333399\" lang=\"TH\">เป็นแรดพันธุ์เล็กที่สุดในบรรดาแรด </span><span style=\"color: #333399\">5 <span lang=\"TH\">ชนิดของโลก มี </span>2 <span lang=\"TH\">นอ ความสูงที่ระดับไหล่ </span>1.0 - <st1:metricconverter ProductID=\"1.4 เมตร\" w:st=\"on\">1.4 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> น้ำหนัก </span>900-<st1:metricconverter ProductID=\"1,000 กก.\" w:st=\"on\">1,000 <span lang=\"TH\">กก.</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> มีขนปกคลุมทั้งตัว ปีนเขาเก่ง มีประสาทในการรับกลิ่นดีมาก เมื่อพบสิ่งกีดขวางจะไม่ข้าม แต่มักใช้หัวดันให้พ้นทางเดิน ชอบกินกิ่งไม้ ใบไม้และผลไม้ ตกลูกครั้งละ </span>1 <span lang=\"TH\">ตัว ตั้งท้องนานประมาณ </span>7-8 <span lang=\"TH\">เดือน ปัจจุบันหายากมาก คาดว่าจะพบได้ในบริเวณป่าทึบตามแนวพรมแดนไทย-พม่า และชายแดนไทย-มาเลเซีย รายงานล่าสุดในปี พ.ศ.</span>2539 <span lang=\"TH\">พบรอยเท้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ นอกจากนี้ยังมีกระจัดกระจายตามป่าต่าง ๆ แห่งละตัวสองตัว เช่น แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ฮาลา-บาลา จังหวัดนราธิวาส เขาสก จังหวัดสุราษฎร์ธานี</span><o:p></o:p></span></span> </strong></span></p>\n<p><u><span style=\"color: #333399\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\">อุปนิสัย</span></span></u><span style=\"color: #333399\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><strong> : <span lang=\"TH\">กระซู่ปีนเขาได้เก่ง มีประสาทรับกลิ่นดีมาก ออกหากินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่ พวกใบไม้ และผลไม้ป่าบางชนิด ปกติกระซู่จะใช้ชีวิตอยู่อย่างโดดเดี่ยว ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์ หรือตัวเมียเลี้ยงลูกอ่อน ตกลูกครั้งละ ๑ ตัว มีระยะตั้งท้อง ๗-๘ เดือน ในที่เลี้ยงกระซู่มีอายุยืน ๓๒ ปี</span> <br />\n</strong></span><u><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><strong>ที่อยู่อาศัย</strong></span></span></u><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><strong> : <span lang=\"TH\">กระซู่อาศัยอยู่ตามป่าเขาที่มีความหนารกทึบ ลงมาอยู่ในป่าที่ราบต่ำ ในตอนปลายฤดูฝนซึ่งในระยะนั้นมีปรักและน้ำอยู่ทั่วไป</span><br />\n</strong></span><u><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><strong>เขตแพร่กระจาย</strong></span></span></u><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><strong> : <span lang=\"TH\">กระซู่มีเขตแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นอัสสัมในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ พม่า ไทย เวียดนาม มลายู สุมาตรา และบอเนียว ในประเทศไทยมีรายงานว่าพบกระซู่อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหลายแห่งได้แก่ ภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี และคลองแสง จังหวัดสุราษฏร์ธานี และในบริเวณอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง ได้แก่ แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และเขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา และบริเวณป่ารอยต่อระหว่างประเทศกับมาเลเซีย</span><br />\n</strong></span><u><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><strong>สถานภาพ</strong></span></span></u><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><strong> : <span lang=\"TH\">ปัจจุบันกระซู่จัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย อนุสัญญา</span> CITES <span lang=\"TH\">จัดไว้ใน</span> Appendix I <span lang=\"TH\">และ</span> U.S. Endanger Species Act <span lang=\"TH\">จัดไว้ในพวกที่ใกล้จะสูญพันธุ์</span> <br />\n</strong></span><u><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><strong>สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์</strong></span></span></u><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><strong> : </strong><span lang=\"TH\"><strong>กระซู่ปัจจุบันใกล้จะสูญพันธุ์ไปจากโลก เนื่องจากถูกล่าเพื่อเอานอ และอวัยวะทุกส่วนของตัว ซึ่งมีฤทธิ์ในทางเป็นยา กระซู่จึงถูกล่าอยู่เนืองๆ ประกอบกับกระซู่มีอยู่ในธรรมชาติน้อย และประชากรแต่ละกลุ่มและแม้แต่กลุ่มเดียวกันก็อยู่ห่างกันมากไม่มีโอกาสจับคู่ขยายพันธุ์ได้</strong></span></span></span></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<o:p></o:p>\n', created = 1715571703, expire = 1715658103, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e678ebffa5eb35ed89a958b064d55c6c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สัตว์ป่าสงวนของไทย

รูปภาพของ ladda701

กระซู่
(
Didemocerus sumatraensis)
 
ชื่อสามัญ
: Sumatran Rhinoceros
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dicermocerus sumatraensis
ชื่ออื่น :
แรดสุมาตรา
เป็นแรดพันธุ์เล็กที่สุดในบรรดาแรด 5 ชนิดของโลก มี 2 นอ ความสูงที่ระดับไหล่ 1.0 - 1.4 เมตร น้ำหนัก 900-1,000 กก. มีขนปกคลุมทั้งตัว ปีนเขาเก่ง มีประสาทในการรับกลิ่นดีมาก เมื่อพบสิ่งกีดขวางจะไม่ข้าม แต่มักใช้หัวดันให้พ้นทางเดิน ชอบกินกิ่งไม้ ใบไม้และผลไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนานประมาณ 7-8 เดือน ปัจจุบันหายากมาก คาดว่าจะพบได้ในบริเวณป่าทึบตามแนวพรมแดนไทย-พม่า และชายแดนไทย-มาเลเซีย รายงานล่าสุดในปี พ.ศ.2539 พบรอยเท้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ นอกจากนี้ยังมีกระจัดกระจายตามป่าต่าง ๆ แห่งละตัวสองตัว เช่น แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ฮาลา-บาลา จังหวัดนราธิวาส เขาสก จังหวัดสุราษฎร์ธานี

อุปนิสัย : กระซู่ปีนเขาได้เก่ง มีประสาทรับกลิ่นดีมาก ออกหากินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่ พวกใบไม้ และผลไม้ป่าบางชนิด ปกติกระซู่จะใช้ชีวิตอยู่อย่างโดดเดี่ยว ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์ หรือตัวเมียเลี้ยงลูกอ่อน ตกลูกครั้งละ ๑ ตัว มีระยะตั้งท้อง ๗-๘ เดือน ในที่เลี้ยงกระซู่มีอายุยืน ๓๒ ปี 

ที่อยู่อาศัย
: กระซู่อาศัยอยู่ตามป่าเขาที่มีความหนารกทึบ ลงมาอยู่ในป่าที่ราบต่ำ ในตอนปลายฤดูฝนซึ่งในระยะนั้นมีปรักและน้ำอยู่ทั่วไป

เขตแพร่กระจาย
: กระซู่มีเขตแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นอัสสัมในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ พม่า ไทย เวียดนาม มลายู สุมาตรา และบอเนียว ในประเทศไทยมีรายงานว่าพบกระซู่อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหลายแห่งได้แก่ ภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี และคลองแสง จังหวัดสุราษฏร์ธานี และในบริเวณอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง ได้แก่ แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และเขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา และบริเวณป่ารอยต่อระหว่างประเทศกับมาเลเซีย

สถานภาพ
: ปัจจุบันกระซู่จัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย อนุสัญญา CITES จัดไว้ใน Appendix I และ U.S. Endanger Species Act จัดไว้ในพวกที่ใกล้จะสูญพันธุ์ 

สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
: กระซู่ปัจจุบันใกล้จะสูญพันธุ์ไปจากโลก เนื่องจากถูกล่าเพื่อเอานอ และอวัยวะทุกส่วนของตัว ซึ่งมีฤทธิ์ในทางเป็นยา กระซู่จึงถูกล่าอยู่เนืองๆ ประกอบกับกระซู่มีอยู่ในธรรมชาติน้อย และประชากรแต่ละกลุ่มและแม้แต่กลุ่มเดียวกันก็อยู่ห่างกันมากไม่มีโอกาสจับคู่ขยายพันธุ์ได้


สร้างโดย: 
ลัดดา ทองโคตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 265 คน กำลังออนไลน์