• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eb1da2246fc98035109b3ba2596e15f4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff0000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นกแต้วแล้วท้องดำ</span><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff0000\"><br />\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">(Pitta gurney)<br />\n</span></span><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff0000\"><o:p></o:p></span>\n\n</p><p><img src=\"http://www.baanjomyut.com/library/wild_animal2/01.jpg\" /><br />\n<span style=\"font-size: 15pt; color: #333399\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\">     ขนาดลำตัววัดจากจงอยปากถึงโคนหางยาว 21 ซม.อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดิบที่ราบต่ำ ชอบทำรังบนกอระกำ และกอหวาย ซึ่งมีหนามแหลม ชอบกินไส้เดือน ส่งเสียกร้อง &quot;วัก วัก&quot; เพื่อประกาศอาณาเขตและร้องหาคู่ ส่งเสียงร้อง &quot;แต้ว แต้ว&quot; ขณะตกใจ ฤดูผสมพันธุ์เริ่มเดือนพฤษภาคม ปัจจุบันพบแห่งเดียวในโลก ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บางคราม (เขานอจู้จี้) จ.กระบี่ คาดว่าเหลืออยู่ไม่เกิน 100 ตัว และมีแนวโน้มว่าจะสูญพันธุ์ในไม่ช้าเนื่องจาก ถิ่นที่อยู่กำลังถูกบุกรุกอย่างรุนแรง </span></span></p>\n<p><b><u><span style=\"color: #333399\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\">อุปนิสัย</span></span></u></b><span style=\"color: #333399\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"> : <span lang=\"TH\">นกแต้วแล้วท้องดำทำรังเป็นซุ้มทรงกลม ด้วยแขนงไม้และใบไผ่ วางอยู่บนพื้นดิน หรือในกอระกำ วางไข่ ๓-๔ ฟอง ทั้งพ่อนกและแม่นก ช่วยกันกกไข่และหาอาหารมาเลี้ยงลูก อาหารได้แก่หนอนด้วง ปลวก จิ้งหรีดขนาดเล็ก และแมลงอื่นๆ</span><br />\n</span><b><u><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\">ที่อยู่อาศัย</span></span></u></b><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"> : <span lang=\"TH\">นกแต้วแล้วท้องดำชนิดนี้พบอาศัยอยู่เฉพาะในบริเวณป่าดงดิบต่ำ</span><br />\n</span><b><u><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\">เขตแพร่กระจาย</span></span></u></b><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"> : <span lang=\"TH\">พบตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศพม่า ลงมาจนถึงเขตรอยต่อระหว่างประเทศไทย กับประเทศมาเลเซีย</span><br />\n</span><b><u><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\">สถานภาพ</span></span></u></b><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"> : <span lang=\"TH\">เคยพบชุกชุมในระยะเมื่อ ๘๐ ปีก่อน แต่ไม่มีรายงานทางวิทยาศาสตร์เลยตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๙๕ จนมีรายงานพบครั้งล่าสุดเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๑ นกแต้วแล้วท้องดำ ได้รับการจัดให้เป็นสัตว์ชนิดที่หายากชนิดหนึ่ง ในสิบสองชนิดที่หายากของโลก</span><br />\n</span><b><u><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\">สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์</span></span></u></b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"> : <span lang=\"TH\">นกชนิดนี้ จัดเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดงดิบต่ำ ซึ่งกำลังถูกตัดฟันอย่างหนัก และสภาพที่อยู่เช่นนี้มีน้อยมากในบริเวณเขตคุ้มครองในภาคใต้ นอกจากนี้ เนื่องจากเป็นนกที่หายากเป็นที่ต้องการของตลาดนกเลี้ยง จึงมีราคาแพง อันเป็นแรงกระตุ้นให้นกแต้วแล้วท้องดำถูกล่ามากยิ่งขึ้น</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #333399\"><o:p><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span> </p>\n<p></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n', created = 1715549176, expire = 1715635576, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eb1da2246fc98035109b3ba2596e15f4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สัตว์ป่าสงวนของไทย

รูปภาพของ ladda701

นกแต้วแล้วท้องดำ
(Pitta gurney)


     ขนาดลำตัววัดจากจงอยปากถึงโคนหางยาว 21 ซม.อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดิบที่ราบต่ำ ชอบทำรังบนกอระกำ และกอหวาย ซึ่งมีหนามแหลม ชอบกินไส้เดือน ส่งเสียกร้อง "วัก วัก" เพื่อประกาศอาณาเขตและร้องหาคู่ ส่งเสียงร้อง "แต้ว แต้ว" ขณะตกใจ ฤดูผสมพันธุ์เริ่มเดือนพฤษภาคม ปัจจุบันพบแห่งเดียวในโลก ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บางคราม (เขานอจู้จี้) จ.กระบี่ คาดว่าเหลืออยู่ไม่เกิน 100 ตัว และมีแนวโน้มว่าจะสูญพันธุ์ในไม่ช้าเนื่องจาก ถิ่นที่อยู่กำลังถูกบุกรุกอย่างรุนแรง

อุปนิสัย : นกแต้วแล้วท้องดำทำรังเป็นซุ้มทรงกลม ด้วยแขนงไม้และใบไผ่ วางอยู่บนพื้นดิน หรือในกอระกำ วางไข่ ๓-๔ ฟอง ทั้งพ่อนกและแม่นก ช่วยกันกกไข่และหาอาหารมาเลี้ยงลูก อาหารได้แก่หนอนด้วง ปลวก จิ้งหรีดขนาดเล็ก และแมลงอื่นๆ

ที่อยู่อาศัย
: นกแต้วแล้วท้องดำชนิดนี้พบอาศัยอยู่เฉพาะในบริเวณป่าดงดิบต่ำ

เขตแพร่กระจาย
: พบตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศพม่า ลงมาจนถึงเขตรอยต่อระหว่างประเทศไทย กับประเทศมาเลเซีย

สถานภาพ
: เคยพบชุกชุมในระยะเมื่อ ๘๐ ปีก่อน แต่ไม่มีรายงานทางวิทยาศาสตร์เลยตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๙๕ จนมีรายงานพบครั้งล่าสุดเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๑ นกแต้วแล้วท้องดำ ได้รับการจัดให้เป็นสัตว์ชนิดที่หายากชนิดหนึ่ง ในสิบสองชนิดที่หายากของโลก

สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
: นกชนิดนี้ จัดเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดงดิบต่ำ ซึ่งกำลังถูกตัดฟันอย่างหนัก และสภาพที่อยู่เช่นนี้มีน้อยมากในบริเวณเขตคุ้มครองในภาคใต้ นอกจากนี้ เนื่องจากเป็นนกที่หายากเป็นที่ต้องการของตลาดนกเลี้ยง จึงมีราคาแพง อันเป็นแรงกระตุ้นให้นกแต้วแล้วท้องดำถูกล่ามากยิ่งขึ้น
 


สร้างโดย: 
ลัดดา ทองโคตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 252 คน กำลังออนไลน์