• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ec92517d1b65471c908b1a007e57f405' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>ชื่อเรื่อง</strong> : การพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5(ลูกเสือโท)\n</p>\n<p>\nโรงเรียนประโคนชัยวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2\n</p>\n<p>\n<strong>ชื่อผู้วิจัย</strong> : นางกัญญาภรณ์ นุชวงษ์ ปีที่วิจัย : ปีการศึกษา 2550\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>บทคัดย่อ</strong>\n</p>\n<p>\n           การวิจัยครั้งนี้เน้นการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) จำนวน 7 ชุด 46 เล่ม มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างและพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ (ลูกเสือโท) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด คือ 80/80 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนและหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชายชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่เรียนลูกเสือ ในปีการศึกษา 2550 โรงเรียนประโคนชัยวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำนวน 32 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงเฉพาะนักเรียนที่ผู้รายงานได้รับมอบหมายให้ทำการสอน ทำการวิจัยในปีการศึกษา 2550 สรุปผลการวิจัย ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 (ลูกเสือโท) จำนวน 7 ชุด 46 เล่ม พบว่ามีค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ และประสิทธิภาพ ของผลสัมฤทธิ์ (E1/E2) เป็น 89.92/86.64 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ สรุปได้ว่า เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) ทั้ง 7 ชุด 46 เล่ม มีค่าประสิทธิภาพในระดับสูง สามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการใช้เอกสารประกอบ การเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) มีคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีพัฒนาการเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 39.14 ค่าความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน (t-test) เป็น18.84 หรือแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0 .01 3. ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อเอกสารประกอบ การเรียนลูกเสือชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) ทั้ง 7 ชุด 46 เล่ม พบว่า โดยภาพรวมแล้วนักเรียนมีความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ทั้ง 7 ชุด ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเป็น 4.86 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.32\n</p>\n', created = 1715821090, expire = 1715907490, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ec92517d1b65471c908b1a007e57f405' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:30e4f0b84270eb8e17f08af39ca558cd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><meta http-equiv=\"Content-Type\" content=\"text/html; charset=utf-8\" /><br />\n<meta name=\"ProgId\" content=\"Word.Document\" /><br />\n<meta name=\"Generator\" content=\"Microsoft Word 11\" /><br />\n<meta name=\"Originator\" content=\"Microsoft Word 11\" /></p>\n<link href=\"file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CComputer%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml\" rel=\"File-List\" />\n<!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:WordDocument>\n<w:View>Normal</w:View>\n<w:Zoom>0</w:Zoom>\n<w:PunctuationKerning/>\n<w:ValidateAgainstSchemas/>\n<w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n<w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n<w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n<w:Compatibility>\n<w:BreakWrappedTables/>\n<w:SnapToGridInCell/>\n<w:ApplyBreakingRules/>\n<w:WrapTextWithPunct/>\n<w:UseAsianBreakRules/>\n<w:DontGrowAutofit/>\n</w:Compatibility>\n<w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n</w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:WordDocument>\n<w:View>Normal</w:View>\n<w:Zoom>0</w:Zoom>\n<w:PunctuationKerning/>\n<w:ValidateAgainstSchemas/>\n<w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n<w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n<w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n<w:Compatibility>\n<w:BreakWrappedTables/>\n<w:SnapToGridInCell/>\n<w:ApplyBreakingRules/>\n<w:WrapTextWithPunct/>\n<w:UseAsianBreakRules/>\n<w:DontGrowAutofit/>\n</w:Compatibility>\n<w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n</w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n</w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n</w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><style>\n<!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-parent:\"\";\nmargin:0in;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\np.MsoHeader, li.MsoHeader, div.MsoHeader\n{margin:0in;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\ntab-stops:center 3.0in right 6.0in;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page Section1\n{size:595.3pt 841.9pt;\nmargin:1.5in 1.0in 1.0in 1.5in;\nmso-header-margin:35.3pt;\nmso-footer-margin:35.3pt;\nmso-page-numbers:thai-1 1;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n{page:Section1;}\n--><!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-parent:\"\";\nmargin:0in;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\np.MsoHeader, li.MsoHeader, div.MsoHeader\n{margin:0in;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\ntab-stops:center 3.0in right 6.0in;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page Section1\n{size:595.3pt 841.9pt;\nmargin:1.5in 1.0in 1.0in 1.5in;\nmso-header-margin:35.3pt;\nmso-footer-margin:35.3pt;\nmso-page-numbers:thai-1 1;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n{page:Section1;}\n-->\n</style><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n/* Style Definitions */\ntable.MsoNormalTable\n{mso-style-name:\"Table Normal\";\nmso-tstyle-rowband-size:0;\nmso-tstyle-colband-size:0;\nmso-style-noshow:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt;\nmso-para-margin:0in;\nmso-para-margin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:10.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-ansi-language:#0400;\nmso-fareast-language:#0400;\nmso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n/* Style Definitions */\ntable.MsoNormalTable\n{mso-style-name:\"Table Normal\";\nmso-tstyle-rowband-size:0;\nmso-tstyle-colband-size:0;\nmso-style-noshow:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt;\nmso-para-margin:0in;\nmso-para-margin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:10.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-ansi-language:#0400;\nmso-fareast-language:#0400;\nmso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชื่อเรื่อง<span>                  </span>รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                </span>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย<span>  </span>สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชื่อผู้รายงาน<span>         </span>นางเรณู<span>  </span>ใจสุข</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หน่วยงาน<span>             </span><span style=\"letter-spacing: -0.5pt\">โรงเรียนบ้านปางแก</span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.5pt\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">(สภาประชานุกูล)<span>  </span>สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 4</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปีที่พิมพ์<span>                 </span>พ.ศ.2552</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บทคัดย่อ</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span><span style=\"letter-spacing: -0.1pt\">การรายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์<span>  </span>กลุ่มสาระการเรียนรู้</span>ภาษาไทย<span>  </span>สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1<span>  </span>ซึ่งมีวัตถุประสงค์ของการศึกษา<span>  </span>ดังนี้<span> <br />\n</span>เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์<span>  </span>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย<span>  </span>สำหรับนักเรียน<span style=\"letter-spacing: -0.3pt\">ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1<span> <br />\n</span>ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์<span>  </span>80<br />\n/80<span>  </span>และค่าดัชนีประสิทธิผล<span>  </span>ตั้งแต่<span> <br />\n</span>0.50<span>  </span>ขึ้นไป</span><span>  </span><span style=\"letter-spacing: -0.1pt\">เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />\n<span> </span>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย <span> </span>โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียน</span><span style=\"letter-spacing: -0.2pt\">เรียงความเชิงสร้างสรรค์<span>  </span>ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1<span>  </span>และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน</span><span style=\"letter-spacing: 0.3pt\">ที่เรียน</span><span style=\"letter-spacing: 0.2pt\">โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์<span>  </span>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย<span>  </span></span><span style=\"letter-spacing: -0.1pt\">ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่<br />\n1<span>  </span>เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา<span>  </span>คือ<span> <br />\n</span>แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ</span>เชิงสร้างสรรค์<span>  </span>จำนวน 10 เล่ม<span> <br />\n</span>ประกอบด้วย<span>  </span>เล่ม 1 การเขียนคำ<span>  </span>มีประสิทธิภาพ <span> </span>88.47 / 87.30<span> <br />\n</span>เล่ม 2 <span> </span>การเขียนประโยค<span>  </span>มีประสิทธิภาพ <span> </span>88.23 / 86.80<span> <br />\n</span>เล่ม 3 การเขียนข้อความ<span> <br />\n</span>มีประสิทธิภาพ88.80 / 88.60<span>  </span>เล่ม 4<br />\nการเขียนโครงเรื่อง<span>  </span>มีประสิทธิภาพ <span> </span>89.07 / 88.20<span> <br />\n</span>เล่ม 5 <span> </span>โวหารการเขียน<span style=\"letter-spacing: 0.2pt\">เรียงความ<span> <br />\n</span>มีประสิทธิภาพ <span> </span>88.47 / 88.60<span>  </span>เล่ม 6 การเขียนคำนำ<span>  </span>มีประสิทธิภาพ <span> </span>88.20 / 88.20 </span><span style=\"letter-spacing: -0.2pt\"><span> </span>เล่ม 7 <span> </span>การเขียนเนื้อเรื่อง<span>  </span>มีประสิทธิภาพ<span> <br />\n</span>88.47 / 87.30<span>  </span>เล่ม 8 การเขียนสรุป<br />\n<span> </span>มีประสิทธิภาพ <span> </span>88.80 / </span><span style=\"letter-spacing: 0.2pt\">86.80 <span> </span>เล่ม 9<br />\nการเขียนเรียงความ<span>  </span>มีประสิทธิภาพ88.20 /<br />\n88.20<span>  </span>เล่ม 10 การเขียนเชิงสร้างสรรค์</span><span>  </span><span style=\"letter-spacing: 0.4pt\">มีประสิทธิภาพ<br />\n<span> </span>88.47 / 87.70<span>  </span>แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้<span>  </span>และแบบประเมิน</span><span style=\"letter-spacing: 0.2pt\">ความพึงพอใจของนักเรียน<span> <br />\n</span>ที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ</span>เชิงสร้างสรรค์<span>  </span>กลุ่มตัวอย่าง<span> <br />\n</span>เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1<span> <br />\n</span>โรงเรียนบ้านปางแก (สภาประชานุกูล)สำนักงานเขตพื้นที่<span style=\"letter-spacing: 0.2pt\">การศึกษานครราชสีมา <span> </span>เขต 4<span> <br />\n</span>ภาคเรียนที่ 1<span>  </span>ปีการศึกษา<br />\n2551<span>  </span>จำนวน 1 ห้องเรียน<span>  </span>นักเรียน</span><span style=\"letter-spacing: -0.4pt\">จำนวน 22 คน<span> <br />\n</span>ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง<span>  </span>(</span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.4pt; font-family: \'Angsana New\'\">Purposive<span>   </span>Sampling)<span>  <br />\n</span><span lang=\"TH\">สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>ได้แก่<span> <br />\n</span>ค่าร้อยละ<span>  </span>ค่าเฉลี่ย<span>  </span>ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">S.D.)<span>  </span><span lang=\"TH\">และการทดสอบค่าที </span>(t-test)<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><b><span lang=\"TH\">ผลการศึกษาปรากฏว่า</span><o:p></o:p></b></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.<span>  </span>ผล<span style=\"letter-spacing: -0.2pt\">การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์<span>  </span></span>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย<span>  </span>สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1<span>  </span>มีค่าประสิทธิภาพ<span>  </span>เท่ากับ<span> <br />\n</span>88.30<span style=\"letter-spacing: -0.1pt\"><span> <br />\n</span>สูงกว่าเกณฑ์</span>ที่กำหนดไว้<span> <br />\n</span>คือ<span>  </span>80 / 80<span>  </span>และค่าดัชนีประสิทธิผล<span>  </span>เท่ากับ<span> <br />\n</span>0.94</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>2.<span>  </span>ผล<span style=\"letter-spacing: 0.4pt\">การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<span>  </span>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย <span> </span>โดยใช้</span><span style=\"letter-spacing: -0.2pt\">แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่<br />\n1โรงเรียนบ้านปางแก</span><span style=\"letter-spacing: -0.1pt\"> (สภาประชานุกูล) </span>สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา<span>  </span>เขต 4<span> <br />\n</span>ทดสอบก่อนเรียน<span> <br />\n</span>มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ<span>  </span>52.28<span>  </span>และ<span style=\"letter-spacing: 0.3pt\">ทดสอบหลังเรียน<span>  </span>มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ<span>  </span>88.75<span> <br />\n</span>และหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน</span><span style=\"letter-spacing: -0.3pt\">แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ<br />\n.05<span>  </span>แสดงว่าแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์</span>มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>3.<span>  </span>ค<span style=\"letter-spacing: -0.2pt\">วามพึงพอใจของนักเรียนที่เรียน<span> <br />\n</span>โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์</span><span style=\"letter-spacing: -0.3pt\">กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่<br />\n1 โรงเรียนบ้านปางแก (สภาประชานุกูล)</span><span> <br />\n</span>สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา<span> <br />\n</span>เขต 4<span> <br />\n</span>โดยรวมมีระดับความพึงพอใจ<span> <br />\n</span>อยู่ในระดับ<span>    </span>มากที่สุด</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>โด<span style=\"letter-spacing: 0.4pt\">ยสรุปทำให้ทราบว่า<span> <br />\n</span>การจัดการเรียนรู้การเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์โดยใช้</span><span style=\"letter-spacing: -0.2pt\">แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์ที่มีประสิทธิภาพ<span>  </span>นักเรียนมีความพึงพอใจในการใช้</span>แบบฝึกทักษะ<span> <br />\n</span>ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น<span>  </span>และนักเรียนได้มีความคิด<span>  </span><span style=\"letter-spacing: 0.3pt\">และมีจินตนาการที่สร้างสรรค์ในด้านการเขียนเรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นประโยค<span>  </span>ทำให้นักเรียน</span>มีทักษะทางด้านการเขียนเพิ่มขึ้นได้</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n', created = 1715821090, expire = 1715907490, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:30e4f0b84270eb8e17f08af39ca558cd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษา

ชื่อเรื่อง : การพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5(ลูกเสือโท)

โรงเรียนประโคนชัยวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2

ชื่อผู้วิจัย : นางกัญญาภรณ์ นุชวงษ์ ปีที่วิจัย : ปีการศึกษา 2550

บทคัดย่อ

           การวิจัยครั้งนี้เน้นการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) จำนวน 7 ชุด 46 เล่ม มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างและพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ (ลูกเสือโท) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด คือ 80/80 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนและหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชายชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่เรียนลูกเสือ ในปีการศึกษา 2550 โรงเรียนประโคนชัยวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำนวน 32 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงเฉพาะนักเรียนที่ผู้รายงานได้รับมอบหมายให้ทำการสอน ทำการวิจัยในปีการศึกษา 2550 สรุปผลการวิจัย ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 (ลูกเสือโท) จำนวน 7 ชุด 46 เล่ม พบว่ามีค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ และประสิทธิภาพ ของผลสัมฤทธิ์ (E1/E2) เป็น 89.92/86.64 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ สรุปได้ว่า เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) ทั้ง 7 ชุด 46 เล่ม มีค่าประสิทธิภาพในระดับสูง สามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการใช้เอกสารประกอบ การเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) มีคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีพัฒนาการเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 39.14 ค่าความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน (t-test) เป็น18.84 หรือแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0 .01 3. ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อเอกสารประกอบ การเรียนลูกเสือชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ลูกเสือโท) ทั้ง 7 ชุด 46 เล่ม พบว่า โดยภาพรวมแล้วนักเรียนมีความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการเรียนลูกเสือ ทั้ง 7 ชุด ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเป็น 4.86 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.32




ชื่อเรื่อง                  รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์

                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ชื่อผู้รายงาน         นางเรณู  ใจสุข

หน่วยงาน             โรงเรียนบ้านปางแก (สภาประชานุกูล)  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 4

ปีที่พิมพ์                 พ.ศ.2552

 

บทคัดย่อ

                การรายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  ซึ่งมีวัตถุประสงค์ของการศึกษา  ดังนี้ 
เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80
/80  และค่าดัชนีประสิทธิผล  ตั้งแต่ 
0.50  ขึ้นไป
  เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียน
เรียงความเชิงสร้างสรรค์  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา  คือ 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
เชิงสร้างสรรค์  จำนวน 10 เล่ม 
ประกอบด้วย  เล่ม 1 การเขียนคำ  มีประสิทธิภาพ  88.47 / 87.30 
เล่ม 2  การเขียนประโยค  มีประสิทธิภาพ  88.23 / 86.80 
เล่ม 3 การเขียนข้อความ 
มีประสิทธิภาพ88.80 / 88.60  เล่ม 4
การเขียนโครงเรื่อง  มีประสิทธิภาพ  89.07 / 88.20 
เล่ม 5  โวหารการเขียนเรียงความ 
มีประสิทธิภาพ  88.47 / 88.60  เล่ม 6 การเขียนคำนำ  มีประสิทธิภาพ  88.20 / 88.20
 เล่ม 7  การเขียนเนื้อเรื่อง  มีประสิทธิภาพ 
88.47 / 87.30  เล่ม 8 การเขียนสรุป
 มีประสิทธิภาพ  88.80 /
86.80  เล่ม 9
การเขียนเรียงความ  มีประสิทธิภาพ88.20 /
88.20  เล่ม 10 การเขียนเชิงสร้างสรรค์
  มีประสิทธิภาพ
 88.47 / 87.70  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้  และแบบประเมิน
ความพึงพอใจของนักเรียน 
ที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
เชิงสร้างสรรค์  กลุ่มตัวอย่าง 
เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 
โรงเรียนบ้านปางแก (สภาประชานุกูล)สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา  เขต 4 
ภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา
2551  จำนวน 1 ห้องเรียน  นักเรียน
จำนวน 22 คน 
ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง  (
Purposive   Sampling)  
สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
  ได้แก่ 
ค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (
S.D.)  และการทดสอบค่าที (t-test)

 

 

 

                ผลการศึกษาปรากฏว่า

                1.  ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  มีค่าประสิทธิภาพ  เท่ากับ 
88.30 
สูงกว่าเกณฑ์
ที่กำหนดไว้ 
คือ  80 / 80  และค่าดัชนีประสิทธิผล  เท่ากับ 
0.94

                2.  ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1โรงเรียนบ้านปางแก
(สภาประชานุกูล) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา  เขต 4 
ทดสอบก่อนเรียน 
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  52.28  และทดสอบหลังเรียน  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  88.75 
และหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
.05  แสดงว่าแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

                3.  วามพึงพอใจของนักเรียนที่เรียน 
โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 โรงเรียนบ้านปางแก (สภาประชานุกูล)
 
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา 
เขต 4 
โดยรวมมีระดับความพึงพอใจ 
อยู่ในระดับ    มากที่สุด

                โดยสรุปทำให้ทราบว่า 
การจัดการเรียนรู้การเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์โดยใช้
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์ที่มีประสิทธิภาพ  นักเรียนมีความพึงพอใจในการใช้แบบฝึกทักษะ 
ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น  และนักเรียนได้มีความคิด  และมีจินตนาการที่สร้างสรรค์ในด้านการเขียนเรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นประโยค  ทำให้นักเรียนมีทักษะทางด้านการเขียนเพิ่มขึ้นได้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 201 คน กำลังออนไลน์