• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:16181a780ed69377eba337096f15699c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>๓.พีธีกรรมการขอขมาเจ้าแม่ตะเคียนเพื่อทำการขุดเรือแข่ง</strong> <br />\n-&gt;ก่อนที่จะทำการขุดเรือแข่ง ผู้นำหมู่บ้าน ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) คณะกรรมการหมู่บ้าน จะหาวัน เวลา และฤกษ์งามยามดีที่เหมาะสมที่สุดเพื่อที่จะทำการขุดเรือแข่งบางหมู่บ้านที่ ต้องการ จะเสริมสร้างสิริมงคลให้กับหมู่บ้านตนเองแลเป้นการรับขวัญไม้ตะเคียน และเจ้าแม่ตะเคียนที่มีความเชื่อว่าสิงสถิตอยู่ที่ไม้ตะเคียน ชาวบ้านทั้งหมู่บ้านก็จะทำการสืบชะตาหมู่บ้าน และ สืบชะตาไม้ตะเคียนที่ จะนำไปขุดเรือแข่ง โดยที่จะเริ่มโยงด้ายสายสิญจน์ จากบ้านหลังหนึ่งไปอีกบ้านหลังหนึ่งต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ จนครบทุกหลังคาเรือนทั้งหมู่บ้าน แล้วผูกโยงด้ายสายสิญจน์มารวมกัน นำไปล้อมรอบต้นไม้ตะเคียนที่จะขุดเรือแข่งแล้วโยงไปยังอุโบสถของวัดประจำ หมู่บ้านซึ่งเป็นสถานที่ที่จะใช้ประกอบพิธีกรรมหลักจากนั้นก็จะนิมนต์พระ สงฆ์ ๙ รูป มาประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและสืบชะตาบ้าน ซึ่งเป็นพิธีกรรมความเชื่อของประชาชนทางภาคเหนือ เมื่อเสร็จพิธีการสืบชะตาหมู่บ้าน และไม้ตะเคียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) ผู้นำหมู่บ้านและชาวบ้านจะมาทำพิธีจุดธูป ๙ ดอก เทียน ๙ เล่ม นำพานดอกไม้ ธูปเทียน พวงมาลัย พานที่เสื้อผ้า กระจก แป้ง หวี ด้ายสายสิญจน์ น้ำอบ น้ำหอม เครื่องเซ่นไหว้มาขอขมาเจ้าแม่เคียนเพื่อจำทำการขุดเรือแข่ง โดยจะประกอบพิธีกรรมบริเวณใกล้ๆ ต้นไม้ตะเคียน ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) จะเป็นผู้นำในการกล่าวเซ่นไหว้ขอขมา แล้วขออัญเชิญ เจ้าแม่ตะเคียนที่สิงสถิตอยู่ต้นไม้ตะเคียนนั้น ขึ้นไปประทับที่ศาลเพียงตาก่อน หลังจากนั้นก็น้ำรูป  ๙ ดอก เทียน ๙ เล่ม ไปปักไว้บริเวณตรงโคนต้นไม้ตะเคียนรอจนกระทั้งรูป ๙ ดอก เทียน ๙ เล่ม ไหม้จนหมดก้านแล้วจึงนำเครื่องเซ่นไหว้ พานดอกไม้ ธูปเทียน พวงมาลัย พานสำหรับใส่เสื้อผ้า กระจก แป้ง หวี ด้ายสายสิญจน์ไปวาง ณ ที่ประทับของเจ้าแม่ตะเคียน ที่ศาลเพียงตา เมื่อช่างขุดเรือแข่งได้ทำการขุดเรือแข่งเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงอัญเชิญเจ้าแม่ตะเคียนสิงสถิตในเรือแข่งอีกครั้งหนึ่ง <br />\n<strong> <br />\n๔. พิธีกรรมการอัญเชิญเจ้าแม่ตะเคียนมาสิงสถิตในเรือแข่ง</strong> <br />\n   <br />\n-&gt;เมื่อ ช่างชุดเรือได้ขุดเรือแข่ง ช่างศิลปะวาดลวดลายพร้อมกับระบายสี่เสร็จเรียบร้อยแล้วผู้นำหมู่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้านและผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) จะทำพิธีกรรมการอัญเชิญ เจ้าแม่ไม้ตะเคียนที่สถิตอยู่ ณ บริเวณศาลเพียงตา ให้มาสิงสถิตในเรือแข่ง โดยที่ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) จะเอาพานที่เสื้อผ้า แป้ง กระจก หวี ที่เคยนำมาวางไว้ไว้ที่ศาลเพียงตา มาทูนไว้เหนือศรีษะและเริ่มพิธีกรรม โดยการจุดรูป ๙ ดอก พร้อมกับนำดอกไม้ธูปเทียน ไปวางถวาย และจะกล่าวอัญเชิญเจ้าแม่ไม้ตะเคียนว่า “ ณ เต้าแต่นี้ไป ไม้ตะเคียน ที่หมู่บ้านเฮาได้ขอเจ้าแม่มาไว้แล้วทำการบกเปิดเฮียแข่ง เพื่อเป็นการส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ของเมืองน่านเฮา ที่เท่าที่มีมาแต่โบราณกาลเมินมาแล้ว บัดนี้หมู่เฮาได้หื้อสล่าทำการบกเป็นเฮียแข่งเสร็จเรียบร้อย จึงขออัญเจิญหื้อตั๋วเจ้าแม่นางไปสิงสถิตประจำอยู่เฮียแข่งเน้อเจ้า”(ณ ตั้งแต่บัดนี้ไป ไม้ตะเคียนที่หมู่บ้านของเราได้ขอเจ้าแม่ไม้ตะเคียนมาไว้ แล้ได้ทำการขุดเป็นเรือแข่ง เพื่อเป็นการส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามที่มีมาตั้งแต่โบราณกาลนาน แล้ว บัดนี้พวกเราได้ดำเนินการให้ช่างขุดเรือแข่งดำเนินการขุดเป็นเรือแข่งเสร็จ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขออัญเชิญเจ้าแม่ไม้ตะเคียนไปสิงสถิตประจำอยู่ ณ เรือนแข่งลำนี้เทอญ)\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003300\">-&gt;หลังจากนั้น ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) ก็จะนำพานที่ใส่เสื้อผ้า กระจก แป้ง หวี มาวางไว้บริเวณด้านหัวของเรือแข่งรอจนกระทั้งรูป ๙ ดอก มอดดับลงไปก็เป็นอันว่าเป็นพิธีกรรม<br />\n <br />\n<strong>๕.พิธีกรรมการบายศรีสู่ขวัญเรือแข่ง</strong> <br />\n-&gt;ก่อนที่จะถึงเทศกาลแข่งเรือ หรือก่อนที่จะนำเรือแข่งลงสู่แม่น้ำน่าน หรือเมื่อเสร็จสิ้นฤดูกาลแข่งเรือก่อนที่จะนำเรือแข่งไปเก็บในโรงเก็บเรือ หมู่บ้าน-ชุมชนที่มีเรือแข่งจะมีพิธีกรรมการบายศรีสู่ขวัญเรือแข่ง โดยที่ชาวบ้านจะช่วยกันนำเอากัญญาหัวหรือแก๋นหัวหรือโงนหัวกัญญาท้ายหรือแก๋ นท้าย หรือโงนหาง หัวเรือและหางวรรณมาสวมเข้ากับลำเรือแข่ง ช่วยกันตกแต่งด้วยพวงมาลัย ดอกไม้ หลังจากนั้นชาวบ้านจะช่วยกันจัดทำเครื่องบายศรีสู่ขวัญเรือ อันประกอบด้วย พานบายศรี สายสิญจน์ หัวหมูที่ต้มสุกแล้ว ๑ – ๒ หัว ไก่พื้นเมืองต้มสุก ๑ ตัว เหล้าขาว ข้าวดอก ดอกไม้ ขนม อ้อย ข้าวเหนียว ไข่ต้ม ธูป เทียน ข้าวแต๋น ฯลฯ นอกจากนั้น แล้วจะช่วยกันทำ กระทงใบตอง โดยตัดเอาหัวหมู ไก่ เหล้าขาว ข้าวดอก ดอกไม้ ขนม ข้าวเหนียว ไข่ต้ม ธูป เทียน ข้าวแต๋น ใส่ในกระทงจำนวน ๒ กระทง แล้วนำไปวางไว้ด้านหัวของกัญญาหัวหรือแก๋นคอหรือโงนหัว และด้านท้ายของกัญญาท้ายหรือแก๋นท้ายหรือโงนหาง และจะเริ่มพิธีกรรมโดยจะอัญเชิญเจ้าแม่ได้ตะเคียนที่สิงสถิตอยู่ในลำเรือ แข่งมารับเครื่องบายศรีสู่ขวัญดังกล่าว โดยที่หมดสู่ขวัญจะทำการจุดธูป ๙ ดอก นำไปปักไว้บนกัญญาหัว และกัญญาท้าย แล้วกล่าวอัญเชิญว่า “ณ บัดนี้ ขออัญเจิน ๓๒ ขวัญของเจ้าแม่เจ้าโปรดมารับ มาอาของตี้ชาวบ้านหมู่เฮาได้จัดเตรียมถวาย หลังจากตี้เจินชักเจ้ามาจากป่าดงพงลึกได้ทำการตกแต่งเป็นเฮียแข่งรูปงามแล้ว ก็ขออัญเจนเจ้ามารับ มารองเอาของกิ๋นตั้งหลายตั้งปวงหมู่นี้เน้อเจ้า” (ณ บัดนี้ ขออัญเชิญ ขวัญ ๓๒ ขวัญของเจ้าแม่ไม้ตะเคียนที่สิงสถิตอยู่ที่เรือแข่งโปรดมารับเอาของที่ชาว บ้านพวกเราในหมู่บ้านนี้ ได้ทำการตกแต่งเครื่องบายศรีสู่ขวัญนี้ หลังจากที่พวกเราได้ทำขุดเรือแข่งเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ขออัญเชิญให้เจ้าแม่ไม้ตะเคียนโปรดมารับเอาสิ่งของที่นำมาถวายเทอญ)</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u15419/boat301.jpg\" height=\"273\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แหล่งอ้างอิง        </span><a href=\"http://www.nanboat.com/\"><span style=\"color: #0000ff\">http://www.nanboat.com/</span></a>\n</p>\n', created = 1722084917, expire = 1722171317, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:16181a780ed69377eba337096f15699c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรือแข่งเมืองน่าน

รูปภาพของ nksgeorge

๓.พีธีกรรมการขอขมาเจ้าแม่ตะเคียนเพื่อทำการขุดเรือแข่ง
->ก่อนที่จะทำการขุดเรือแข่ง ผู้นำหมู่บ้าน ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) คณะกรรมการหมู่บ้าน จะหาวัน เวลา และฤกษ์งามยามดีที่เหมาะสมที่สุดเพื่อที่จะทำการขุดเรือแข่งบางหมู่บ้านที่ ต้องการ จะเสริมสร้างสิริมงคลให้กับหมู่บ้านตนเองแลเป้นการรับขวัญไม้ตะเคียน และเจ้าแม่ตะเคียนที่มีความเชื่อว่าสิงสถิตอยู่ที่ไม้ตะเคียน ชาวบ้านทั้งหมู่บ้านก็จะทำการสืบชะตาหมู่บ้าน และ สืบชะตาไม้ตะเคียนที่ จะนำไปขุดเรือแข่ง โดยที่จะเริ่มโยงด้ายสายสิญจน์ จากบ้านหลังหนึ่งไปอีกบ้านหลังหนึ่งต่อ ๆ กันไปเรื่อย ๆ จนครบทุกหลังคาเรือนทั้งหมู่บ้าน แล้วผูกโยงด้ายสายสิญจน์มารวมกัน นำไปล้อมรอบต้นไม้ตะเคียนที่จะขุดเรือแข่งแล้วโยงไปยังอุโบสถของวัดประจำ หมู่บ้านซึ่งเป็นสถานที่ที่จะใช้ประกอบพิธีกรรมหลักจากนั้นก็จะนิมนต์พระ สงฆ์ ๙ รูป มาประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและสืบชะตาบ้าน ซึ่งเป็นพิธีกรรมความเชื่อของประชาชนทางภาคเหนือ เมื่อเสร็จพิธีการสืบชะตาหมู่บ้าน และไม้ตะเคียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) ผู้นำหมู่บ้านและชาวบ้านจะมาทำพิธีจุดธูป ๙ ดอก เทียน ๙ เล่ม นำพานดอกไม้ ธูปเทียน พวงมาลัย พานที่เสื้อผ้า กระจก แป้ง หวี ด้ายสายสิญจน์ น้ำอบ น้ำหอม เครื่องเซ่นไหว้มาขอขมาเจ้าแม่เคียนเพื่อจำทำการขุดเรือแข่ง โดยจะประกอบพิธีกรรมบริเวณใกล้ๆ ต้นไม้ตะเคียน ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) จะเป็นผู้นำในการกล่าวเซ่นไหว้ขอขมา แล้วขออัญเชิญ เจ้าแม่ตะเคียนที่สิงสถิตอยู่ต้นไม้ตะเคียนนั้น ขึ้นไปประทับที่ศาลเพียงตาก่อน หลังจากนั้นก็น้ำรูป  ๙ ดอก เทียน ๙ เล่ม ไปปักไว้บริเวณตรงโคนต้นไม้ตะเคียนรอจนกระทั้งรูป ๙ ดอก เทียน ๙ เล่ม ไหม้จนหมดก้านแล้วจึงนำเครื่องเซ่นไหว้ พานดอกไม้ ธูปเทียน พวงมาลัย พานสำหรับใส่เสื้อผ้า กระจก แป้ง หวี ด้ายสายสิญจน์ไปวาง ณ ที่ประทับของเจ้าแม่ตะเคียน ที่ศาลเพียงตา เมื่อช่างขุดเรือแข่งได้ทำการขุดเรือแข่งเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงอัญเชิญเจ้าแม่ตะเคียนสิงสถิตในเรือแข่งอีกครั้งหนึ่ง
 
๔. พิธีกรรมการอัญเชิญเจ้าแม่ตะเคียนมาสิงสถิตในเรือแข่ง

  
->เมื่อ ช่างชุดเรือได้ขุดเรือแข่ง ช่างศิลปะวาดลวดลายพร้อมกับระบายสี่เสร็จเรียบร้อยแล้วผู้นำหมู่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้านและผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) จะทำพิธีกรรมการอัญเชิญ เจ้าแม่ไม้ตะเคียนที่สถิตอยู่ ณ บริเวณศาลเพียงตา ให้มาสิงสถิตในเรือแข่ง โดยที่ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) จะเอาพานที่เสื้อผ้า แป้ง กระจก หวี ที่เคยนำมาวางไว้ไว้ที่ศาลเพียงตา มาทูนไว้เหนือศรีษะและเริ่มพิธีกรรม โดยการจุดรูป ๙ ดอก พร้อมกับนำดอกไม้ธูปเทียน ไปวางถวาย และจะกล่าวอัญเชิญเจ้าแม่ไม้ตะเคียนว่า “ ณ เต้าแต่นี้ไป ไม้ตะเคียน ที่หมู่บ้านเฮาได้ขอเจ้าแม่มาไว้แล้วทำการบกเปิดเฮียแข่ง เพื่อเป็นการส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ของเมืองน่านเฮา ที่เท่าที่มีมาแต่โบราณกาลเมินมาแล้ว บัดนี้หมู่เฮาได้หื้อสล่าทำการบกเป็นเฮียแข่งเสร็จเรียบร้อย จึงขออัญเจิญหื้อตั๋วเจ้าแม่นางไปสิงสถิตประจำอยู่เฮียแข่งเน้อเจ้า”(ณ ตั้งแต่บัดนี้ไป ไม้ตะเคียนที่หมู่บ้านของเราได้ขอเจ้าแม่ไม้ตะเคียนมาไว้ แล้ได้ทำการขุดเป็นเรือแข่ง เพื่อเป็นการส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามที่มีมาตั้งแต่โบราณกาลนาน แล้ว บัดนี้พวกเราได้ดำเนินการให้ช่างขุดเรือแข่งดำเนินการขุดเป็นเรือแข่งเสร็จ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขออัญเชิญเจ้าแม่ไม้ตะเคียนไปสิงสถิตประจำอยู่ ณ เรือนแข่งลำนี้เทอญ)

->หลังจากนั้น ผู้ทำพิธี (ข้าวจ้ำ) ก็จะนำพานที่ใส่เสื้อผ้า กระจก แป้ง หวี มาวางไว้บริเวณด้านหัวของเรือแข่งรอจนกระทั้งรูป ๙ ดอก มอดดับลงไปก็เป็นอันว่าเป็นพิธีกรรม
 
๕.พิธีกรรมการบายศรีสู่ขวัญเรือแข่ง
->ก่อนที่จะถึงเทศกาลแข่งเรือ หรือก่อนที่จะนำเรือแข่งลงสู่แม่น้ำน่าน หรือเมื่อเสร็จสิ้นฤดูกาลแข่งเรือก่อนที่จะนำเรือแข่งไปเก็บในโรงเก็บเรือ หมู่บ้าน-ชุมชนที่มีเรือแข่งจะมีพิธีกรรมการบายศรีสู่ขวัญเรือแข่ง โดยที่ชาวบ้านจะช่วยกันนำเอากัญญาหัวหรือแก๋นหัวหรือโงนหัวกัญญาท้ายหรือแก๋ นท้าย หรือโงนหาง หัวเรือและหางวรรณมาสวมเข้ากับลำเรือแข่ง ช่วยกันตกแต่งด้วยพวงมาลัย ดอกไม้ หลังจากนั้นชาวบ้านจะช่วยกันจัดทำเครื่องบายศรีสู่ขวัญเรือ อันประกอบด้วย พานบายศรี สายสิญจน์ หัวหมูที่ต้มสุกแล้ว ๑ – ๒ หัว ไก่พื้นเมืองต้มสุก ๑ ตัว เหล้าขาว ข้าวดอก ดอกไม้ ขนม อ้อย ข้าวเหนียว ไข่ต้ม ธูป เทียน ข้าวแต๋น ฯลฯ นอกจากนั้น แล้วจะช่วยกันทำ กระทงใบตอง โดยตัดเอาหัวหมู ไก่ เหล้าขาว ข้าวดอก ดอกไม้ ขนม ข้าวเหนียว ไข่ต้ม ธูป เทียน ข้าวแต๋น ใส่ในกระทงจำนวน ๒ กระทง แล้วนำไปวางไว้ด้านหัวของกัญญาหัวหรือแก๋นคอหรือโงนหัว และด้านท้ายของกัญญาท้ายหรือแก๋นท้ายหรือโงนหาง และจะเริ่มพิธีกรรมโดยจะอัญเชิญเจ้าแม่ได้ตะเคียนที่สิงสถิตอยู่ในลำเรือ แข่งมารับเครื่องบายศรีสู่ขวัญดังกล่าว โดยที่หมดสู่ขวัญจะทำการจุดธูป ๙ ดอก นำไปปักไว้บนกัญญาหัว และกัญญาท้าย แล้วกล่าวอัญเชิญว่า “ณ บัดนี้ ขออัญเจิน ๓๒ ขวัญของเจ้าแม่เจ้าโปรดมารับ มาอาของตี้ชาวบ้านหมู่เฮาได้จัดเตรียมถวาย หลังจากตี้เจินชักเจ้ามาจากป่าดงพงลึกได้ทำการตกแต่งเป็นเฮียแข่งรูปงามแล้ว ก็ขออัญเจนเจ้ามารับ มารองเอาของกิ๋นตั้งหลายตั้งปวงหมู่นี้เน้อเจ้า” (ณ บัดนี้ ขออัญเชิญ ขวัญ ๓๒ ขวัญของเจ้าแม่ไม้ตะเคียนที่สิงสถิตอยู่ที่เรือแข่งโปรดมารับเอาของที่ชาว บ้านพวกเราในหมู่บ้านนี้ ได้ทำการตกแต่งเครื่องบายศรีสู่ขวัญนี้ หลังจากที่พวกเราได้ทำขุดเรือแข่งเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ขออัญเชิญให้เจ้าแม่ไม้ตะเคียนโปรดมารับเอาสิ่งของที่นำมาถวายเทอญ)

 

แหล่งอ้างอิง        http://www.nanboat.com/

สร้างโดย: 
George
รูปภาพของ abp3701

หนูไม่เคยรู้ว่าเรื่อทำมาจากต้นตะเคียนคาวนี่หนูได้รู้เเล้วค่ะ

เพราะหนูได้อ่านจากที่คุณครูพิมพ์         จากน้องเเพววา

รูปภาพของ msw7706

เพิ่งรู้นะครับ  เรือแข่งทำจากต้นตะเคียง

เป็นกำลังใจให้สร้างบร๊อกดีๆอย่างนี้อีกนะครับ

 

 

แหล่งที่มา http://www.thaigoodview.com/node/29268

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 262 คน กำลังออนไลน์