• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8c4929a4994f5cf09084af691c1cb288' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของ&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย&nbsp;&nbsp; </strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จันทร์เพ็ญ&nbsp; สันวงค์</p>\n<p><strong>ปีการศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>2565</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการในการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตส ซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 และ 4. เพื่อประเมินและปรับปรุงรับรองรูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กชายและเด็กหญิงชั้นอนุบาลปีที่ 3/2 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านเก่า) กองการศึกษา เทศบาลตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย จำนวน 27 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ได้แก่ 1) แบบสอบถามความคิดเห็น 2) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 3) แบบวิเคราะห์ข้อมูลการสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) 4) คู่มือการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ 5) ชุดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ จำนวน 30 กิจกรรม 6) แผนการจัดประสบการณ์ จำนวน 30 แผน 7) แบบวัดความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ จำนวน 4 ชุด 8) แบบสอบถามความพึงพอใจ และ 9) แบบประเมินการปรับปรุง แก้ไข รูปแบบการจัดประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าประสิทธิภาพ</p>\n<p>ผลการวิจัยพบว่า</p>\n<p>1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการในการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 พบว่า สภาพปัจจุบันปัญหา โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก (x-bar= 3.92, S.D. = 0.69) โดยด้านแนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้ มีปัญหามากที่สุด (x-bar= 3.97, S.D. = 0.68) และด้านการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 สู่การปฏิบัติ มีปัญหาน้อยที่สุด (x-bar= 3.65, S.D. = 0.69) ความต้องการจำเป็นในการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 มีดังนี้ 1) ด้านหลักสูตร พบว่า ควรมีการศึกษาทำความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 โดยมุ่งเน้นพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม พัฒนาเด็กทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ให้เด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการสมวัย 2) ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ พบว่า ควรมีการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย โดยมุ่งเน้นการจัดประสบการณ์โดยยึดเด็กเป็นสำคัญ เน้นการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตัวเด็กเอง ให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ มีความเข้าใจนโยบายการจัดการศึกษาปฐมวัย 3) ด้านสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ พบว่า ควรส่งเสริมให้ครูมีความรู้ในการใช้สื่อ วัสดุเฉพาะของอุปกรณ์มอนเตสซอรี่ให้มีความชำนาญ และขั้นตอนแบบแผนที่ถูกต้อง เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างอิสระ เกิดความสนใจ กระตือรือร้น เรียนรู้อย่างมีความสุขจากการเล่น และ 4) ด้านการวัดประเมินผล พบว่า ควรวางแผนด้านการวัดประเมินอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เลือกใช้เครื่องมือที่หลากหลาย ประเมินผลตามสภาพจริง เหมาะสมกับเด็กและตามพัฒนาการของเด็ก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 มีชื่อว่า “Montes 6 Stages Model” (มอนเตส ซิกส์ สเต็จส์ โมเดล) มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. หลักการ 2. วัตถุประสงค์ 3. กระบวนการจัดประสบการณ์ มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 กิจกรรมความท้าทายเพื่อการเตรียมความพร้อม (Challenge to Preparing Activity Stage : M1) ขั้นที่ 2 การทบทวนประสบการณ์และการสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ที่ทุกคนได้ออกแบบร่วมกัน (Review and Presenting New Material Activity Stage : M2) ขั้นที่ 3 ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ (Seat Working and Coaching Activity Stage : M3) ขั้นที่ 4 การจดจำสิ่งที่ได้เรียนรู้ (Memory Learning by doing Activity Stage : M4)ขั้นที่ 5 การสะท้อนความคิดและการศึกษาเพิ่มเติม (Reflections and Exploration Activity Stage : M5) และขั้นที่ 6 การสรุปและการนำไปใช้ (Conclusion and Applying Activity Stage : M6)&nbsp;&nbsp; 4. การประเมินผล และ 5. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยมีประสิทธิภาพ (E<sub>1</sub>/E<sub>2</sub>) เท่ากับ 84.32/89.71ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/2 หลังการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนการจัดประสบการณ์เท่ากับ 4.86 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.59 (x-bar= 4.86, S.D. = 0.59) คิดเป็นร้อยละ 54.01 และคะแนนเฉลี่ยหลังการจัดประสบการณ์เท่ากับ 8.07 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.45 (x-bar= 8.07, S.D. = 0.45) คิดเป็นร้อยละ 89.71</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. ผลการประเมินการปรับปรุง แก้ไข รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 พบว่า มีการแสดงความคิดเห็นให้ปรับปรุง แก้ไขขั้นที่ 6 โดยครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรมในสิ่งที่เด็กยังมีข้อมูลสงสัยบางประการและเสริมความรู้ใหม่พร้อมกับแนะนำการนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน และหลังการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ พบว่า นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/2 มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.98 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.10 (x-bar= 2.98, S.D.= 0.10)</p>\n', created = 1715814005, expire = 1715900405, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8c4929a4994f5cf09084af691c1cb288' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

ชื่อเรื่อง        การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของ                    เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3

ผู้วิจัย           จันทร์เพ็ญ  สันวงค์

ปีการศึกษา    2565

บทคัดย่อ 

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการในการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตส ซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 และ 4. เพื่อประเมินและปรับปรุงรับรองรูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กชายและเด็กหญิงชั้นอนุบาลปีที่ 3/2 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเทศบาล ๑ (บ้านเก่า) กองการศึกษา เทศบาลตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย จำนวน 27 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ได้แก่ 1) แบบสอบถามความคิดเห็น 2) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 3) แบบวิเคราะห์ข้อมูลการสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) 4) คู่มือการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ 5) ชุดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ จำนวน 30 กิจกรรม 6) แผนการจัดประสบการณ์ จำนวน 30 แผน 7) แบบวัดความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ จำนวน 4 ชุด 8) แบบสอบถามความพึงพอใจ และ 9) แบบประเมินการปรับปรุง แก้ไข รูปแบบการจัดประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าประสิทธิภาพ

ผลการวิจัยพบว่า

1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการในการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 พบว่า สภาพปัจจุบันปัญหา โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก (x-bar= 3.92, S.D. = 0.69) โดยด้านแนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้ มีปัญหามากที่สุด (x-bar= 3.97, S.D. = 0.68) และด้านการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 สู่การปฏิบัติ มีปัญหาน้อยที่สุด (x-bar= 3.65, S.D. = 0.69) ความต้องการจำเป็นในการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อการส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 มีดังนี้ 1) ด้านหลักสูตร พบว่า ควรมีการศึกษาทำความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 โดยมุ่งเน้นพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม พัฒนาเด็กทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ให้เด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการสมวัย 2) ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ พบว่า ควรมีการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย โดยมุ่งเน้นการจัดประสบการณ์โดยยึดเด็กเป็นสำคัญ เน้นการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตัวเด็กเอง ให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ มีความเข้าใจนโยบายการจัดการศึกษาปฐมวัย 3) ด้านสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ พบว่า ควรส่งเสริมให้ครูมีความรู้ในการใช้สื่อ วัสดุเฉพาะของอุปกรณ์มอนเตสซอรี่ให้มีความชำนาญ และขั้นตอนแบบแผนที่ถูกต้อง เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างอิสระ เกิดความสนใจ กระตือรือร้น เรียนรู้อย่างมีความสุขจากการเล่น และ 4) ด้านการวัดประเมินผล พบว่า ควรวางแผนด้านการวัดประเมินอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เลือกใช้เครื่องมือที่หลากหลาย ประเมินผลตามสภาพจริง เหมาะสมกับเด็กและตามพัฒนาการของเด็ก

          2. รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 มีชื่อว่า “Montes 6 Stages Model” (มอนเตส ซิกส์ สเต็จส์ โมเดล) มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. หลักการ 2. วัตถุประสงค์ 3. กระบวนการจัดประสบการณ์ มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 กิจกรรมความท้าทายเพื่อการเตรียมความพร้อม (Challenge to Preparing Activity Stage : M1) ขั้นที่ 2 การทบทวนประสบการณ์และการสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ที่ทุกคนได้ออกแบบร่วมกัน (Review and Presenting New Material Activity Stage : M2) ขั้นที่ 3 ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ (Seat Working and Coaching Activity Stage : M3) ขั้นที่ 4 การจดจำสิ่งที่ได้เรียนรู้ (Memory Learning by doing Activity Stage : M4)ขั้นที่ 5 การสะท้อนความคิดและการศึกษาเพิ่มเติม (Reflections and Exploration Activity Stage : M5) และขั้นที่ 6 การสรุปและการนำไปใช้ (Conclusion and Applying Activity Stage : M6)   4. การประเมินผล และ 5. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยมีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 84.32/89.71ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80

          3. ความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/2 หลังการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนการจัดประสบการณ์เท่ากับ 4.86 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.59 (x-bar= 4.86, S.D. = 0.59) คิดเป็นร้อยละ 54.01 และคะแนนเฉลี่ยหลังการจัดประสบการณ์เท่ากับ 8.07 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.45 (x-bar= 8.07, S.D. = 0.45) คิดเป็นร้อยละ 89.71

          4. ผลการประเมินการปรับปรุง แก้ไข รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 พบว่า มีการแสดงความคิดเห็นให้ปรับปรุง แก้ไขขั้นที่ 6 โดยครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรมในสิ่งที่เด็กยังมีข้อมูลสงสัยบางประการและเสริมความรู้ใหม่พร้อมกับแนะนำการนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน และหลังการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่ พบว่า นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/2 มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดมอนเตสซอรี่อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.98 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.10 (x-bar= 2.98, S.D.= 0.10)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 174 คน กำลังออนไลน์