• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2895ac5738c6d25e82126ca859954068' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5</p>\n<p><strong>ชื่อผู้วิจัย</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นางสุชาดา &nbsp;ฤทธิโชติ&nbsp; ตำแหน่ง&nbsp; ครู&nbsp; วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ</p>\n<p><strong>ปีที่วิจัย&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>2561</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” เพื่อส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) พัฒนาและหาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร”เพื่อส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 4) ประเมิน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;จังหวัดนครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2561 จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;“เล่าขานตำนานเมืองนคร” เพื่อส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคระห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;5 แผน 2) ชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร”เพื่อส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 5 ชุด 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 40 ข้อ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มี่ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน“เล่าขานตำนานเมืองนคร” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.การศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร”สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จากการวิเคราะห์หลักสูตร สัมภาษณ์ครูผู้สอน และนักเรียน ได้ข้อสรุป ดังนี้ <span style=\"text-decoration: underline;\">เป้าหมายของหลักสูตร </span>ต้องการให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เน้นให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญและใส่ใจในการจัดการเรียนการสอน ให้มีการพัฒนาผู้เรียนให้พร้อมที่จะเข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ ความคิด คุณธรรมมีทักษะการคิดการวิเคราะห์และแก้ปัญหา มีจุดหมายให้พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิดแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต <span style=\"text-decoration: underline;\">หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย</span> ต้องการเน้นให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการเรียนการสอนภาษาไทย มีความสนใจ เอาใจใส่ ใฝ่หาความรู้ มีความกระตือรือร้นและมีความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ภาษา รวมถึงความรู้สึกที่ดีต่อภาษาไทย ทำความเข้าใจศึกษาหลักเกณฑ์ทางภาษา ฝึกฝนให้มีทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพเพื่อนำไปใช้ติดต่อสื่อสาร เสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน ก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพของชาติ <span style=\"text-decoration: underline;\">ผู้บริหารและครู</span>ต้องการให้ใช้วิธีการ กระบวนการ เทคนิคการสอนและสื่อการเรียนการสอนที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผู้บริหารและครูมีความเห็นตรงกันว่า การนำประวัติความเป็นมา เรื่องราวเกี่ยวกับตำนานเมืองนคร มาให้นักเรียนได้อ่านและศึกษาเรียนรู้ซึ่งเป็นเรื่องใกล้ตัวช่วยปลูกฝังจิตสำนึกรักบ้านเกิด ส่งเสริมให้นักเรียนได้เห็นถึงเอกลักษณ์ ความเป็นท้องถิ่นของตน เกิดความซาบซึ้ง และร่วมกัน สืบทอด อนุรักษ์ความเป้นท้องถิ่นให้คงอยู่ตลอดไป <span style=\"text-decoration: underline;\">ส่วนนักเรียน</span> มีความต้องการให้ครูจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ต้องการเรียนอย่างมีความสุข สนุกสนานกับการเรียน ต้องการให้ครูใช้สื่อประกอบการสอนที่เร้าใจให้อยากเรียน และสามารถฝึกปฏิบัติได้ด้วยตนเอง และ<span style=\"text-decoration: underline;\">ผลการวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี สาระสำคัญ</span> งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์ พบว่า การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค&nbsp;KWLH plus&nbsp;เป็นการจัดการเรียนรู้ยุทธวิธีการอ่านเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยผู้เรียนจะได้รับการฝึกให้ตระหนักในกระบวนการทำความเข้าใจตนเอง มีการวางแผน ตั้งจุดมุ่งหมาย ตรวจสอบความเข้าใจของตน มีการจัดระบบข้อมูลเพื่อดึงมาใช้ภายหลังได้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร เพื่อพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์&nbsp; สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ (E<sub>1 </sub>/ E<sub>2</sub>) เท่ากับ 87.03 / 86.69 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ที่ 80 / 80</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5&nbsp; ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 โดยค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. ผลการประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร เพื่อพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์&nbsp; สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5&nbsp; พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยรวม 4.65 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.18 อยู่ในระดับมากที่สุด&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1715489966, expire = 1715576366, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2895ac5738c6d25e82126ca859954068' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร”

ชื่อเรื่อง         การพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ชื่อผู้วิจัย        นางสุชาดา  ฤทธิโชติ  ตำแหน่ง  ครู  วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

ปีที่วิจัย          2561

บทคัดย่อ

 

          การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” เพื่อส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) พัฒนาและหาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร”เพื่อส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน                        เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 4) ประเมิน                  ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน                                ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช                                   จังหวัดนครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2561 จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน                  “เล่าขานตำนานเมืองนคร” เพื่อส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคระห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน              5 แผน 2) ชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร”เพื่อส่งเสริมการอ่านเชิงวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 5 ชุด 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 40 ข้อ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มี่ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน“เล่าขานตำนานเมืองนคร” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า

             1.การศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร”สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จากการวิเคราะห์หลักสูตร สัมภาษณ์ครูผู้สอน และนักเรียน ได้ข้อสรุป ดังนี้ เป้าหมายของหลักสูตร ต้องการให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เน้นให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญและใส่ใจในการจัดการเรียนการสอน ให้มีการพัฒนาผู้เรียนให้พร้อมที่จะเข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ ความคิด คุณธรรมมีทักษะการคิดการวิเคราะห์และแก้ปัญหา มีจุดหมายให้พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิดแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต้องการเน้นให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการเรียนการสอนภาษาไทย มีความสนใจ เอาใจใส่ ใฝ่หาความรู้ มีความกระตือรือร้นและมีความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ภาษา รวมถึงความรู้สึกที่ดีต่อภาษาไทย ทำความเข้าใจศึกษาหลักเกณฑ์ทางภาษา ฝึกฝนให้มีทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพเพื่อนำไปใช้ติดต่อสื่อสาร เสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน ก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพของชาติ ผู้บริหารและครูต้องการให้ใช้วิธีการ กระบวนการ เทคนิคการสอนและสื่อการเรียนการสอนที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ที่ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผู้บริหารและครูมีความเห็นตรงกันว่า การนำประวัติความเป็นมา เรื่องราวเกี่ยวกับตำนานเมืองนคร มาให้นักเรียนได้อ่านและศึกษาเรียนรู้ซึ่งเป็นเรื่องใกล้ตัวช่วยปลูกฝังจิตสำนึกรักบ้านเกิด ส่งเสริมให้นักเรียนได้เห็นถึงเอกลักษณ์ ความเป็นท้องถิ่นของตน เกิดความซาบซึ้ง และร่วมกัน สืบทอด อนุรักษ์ความเป้นท้องถิ่นให้คงอยู่ตลอดไป ส่วนนักเรียน มีความต้องการให้ครูจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ต้องการเรียนอย่างมีความสุข สนุกสนานกับการเรียน ต้องการให้ครูใช้สื่อประกอบการสอนที่เร้าใจให้อยากเรียน และสามารถฝึกปฏิบัติได้ด้วยตนเอง และผลการวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี สาระสำคัญ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์ พบว่า การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus เป็นการจัดการเรียนรู้ยุทธวิธีการอ่านเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยผู้เรียนจะได้รับการฝึกให้ตระหนักในกระบวนการทำความเข้าใจตนเอง มีการวางแผน ตั้งจุดมุ่งหมาย ตรวจสอบความเข้าใจของตน มีการจัดระบบข้อมูลเพื่อดึงมาใช้ภายหลังได้

             2. ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร เพื่อพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ (E1 / E2) เท่ากับ 87.03 / 86.69 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ที่ 80 / 80

                 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร” มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 โดยค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

                 4. ผลการประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWLH plus ร่วมกับชุดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “เล่าขานตำนานเมืองนคร เพื่อพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยรวม 4.65 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.18 อยู่ในระดับมากที่สุด 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 338 คน กำลังออนไลน์