• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4d88e9ebca23de37949161e28440f4f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>การพัฒนาคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ของนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นายสุคน ระเบียบโอษฐ์</p>\n<p><strong>ปีที่ทำวิจัย</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2560</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตรโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร 2) เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร 3) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร รอบที่ 1 และ 4) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร รอบที่ 2 แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล หัวหน้าระดับชั้น รองหัวหน้าระดับชั้น ครูแนะแนว ครูที่ปรึกษา นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) คู่มือการสนทนากลุ่ม 2) แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และ 3) แบบสอบถามประเมินความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p>\n<p>ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้</p>\n<ol>\n<li><strong>ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน</strong> พบว่า การดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้งสามโรงเรียนสอดคล้องกันกล่าวคือ เน้นที่หัวหน้าระดับและครูที่ปรึกษารับผิดชอบร่วมกัน ฝ่ายบริหารจะให้แนวนโยบายแล้วแจกเอกสารให้ครูได้ปฏิบัติ ไม่มีคู่มือการใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ครูได้ยึดเป็นกรอบแนวปฏิบัติ ไม่มีการสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติ ไม่มีการประเมินทบทวนระบบหลังจากที่ดำเนินงานไปแล้ว ซึ่งทำให้ไม่มีการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานมาใช้ในครั้งต่อไป กระบวนการดำเนินงานขาดการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง คือ ผู้บริหาร ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียน รวมทั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยไม่มีการวางแผนร่วมกัน ผู้เกี่ยวข้องดังกล่าวไม่ได้ให้คำปรึกษาในการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ไม่มีโอกาสให้ข้อเสนอแนะแนวทางในการส่งเสริมพัฒนาแก้ไขนักเรียน</li>\n</ol>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้ให้ข้อมูลส่วนมากต้องการให้โรงเรียนพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูที่ปรึกษาและผู้เกี่ยวข้อง จัดทำคู่มือการใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ชัดเจน ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ผู้บริหาร ครูที่ปรึกษา ครูแนะแนว ครูหัวหน้าระดับ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียน การดำเนินงานตามระบบให้มีการวางแผนร่วมกัน ภายหลังดำเนินการแล้วต้องมีการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น</p>\n<ol>\n<li><strong>2.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong><strong>ผลการศึกษาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน</strong> มีขั้นตอนในการดำเนินการประกอบด้วย</li>\n</ol>\n<p>2.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นวางแผน โดยการจัดประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง แต่งตั้งคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ และร่วมกันกำหนดบทบาทหน้าที่เพื่อให้กระบวนการดำเนินงานมีประสิทธิผล ขั้นปฏิบัติการ ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันศึกษาปัญหาของโรงเรียนกำหนดแนวทางปฏิบัติ การตรวจสอบ และกาสะท้อนผลการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยยึดกรอบการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี 5 ขั้นตอน คือ (1) การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล (2) การคัดกรอง (3) การส่งเสริมและพัฒนา (4) การป้องกันและแก้ไขปัญหา และ (5) การส่งต่อ กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติ ตรวจสอบ สะท้อนผล และประเมินผลการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติ ตรวจสอบ สะท้อนผล และสรุปเป็นแผนปฏิบัติการ ขั้นตรวจสอบ ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันตรวจสอบแผนปฏิบัติที่ร่วมกันสร้างขึ้น โดยการประเมินความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ ขั้นสะท้อนผล ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันนำผลที่ได้จากขั้นตรวจสอบมาปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ชัดเจนขึ้นสามารถนำไปปฏิบัติได้</p>\n<p>2.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบปฏิบัติการ มีขั้นตอนในการดำเนินงานประกอบด้วย ขั้นวางแผน ดำเนินการโดยผู้บริหารและครูที่เกี่ยวข้องประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้ปกครองและนักเรียนในการดำเนินงานตามระบบวางแผน (Plan) ระบบปฏิบัติการ (Act) ระบบตรวจสอบ (Observe) และระบบสะท้อนผล (Reflect) ครูทีมประสานและทีมทำร่วมกันวิเคราะห์มาตรฐานระบบวางแผน (Plan) ระบบปฏิบัติการ (Act) ระบบตรวจสอบ (Observe) และระบบสะท้อนผล (Reflect) กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน ขั้นปฏิบัติการ ครูที่ปรึกษาปฏิบัติการดูแล่ชวยเหลือนักเรียน ผู้เรียนดูแลแก้ไขพัฒนาตนเองและเพื่อนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนดูแลนักเรียนเมื่ออยู่ที่บ้านและในชุมชน พร้อมกับประสานความร่วมมือกับโรงเรียน เมื่อนักเรียนมีปัญหา ขั้นตรวจสอบ ครูที่ปรึกษา ตรวจสอบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ปฏิบัติว่า เป็นไปตามแนวทางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นหรือไม่ โดยครูที่ปรึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ขั้นสะท้อนผลผู้เกี่ยวข้องร่วมกันทบทวนและปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษา</p>\n<p>2.3&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบติดตามตรวจสอบ มีขั้นตอนในการดำเนินงานประกอบด้วย ขั้นวางแผน ดำเนินการโดย จัดประชุมคณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้อง เตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ขั้นปฏิบัติการ ดำเนินการตรวจสอบการปฏิบัติของครูที่ปรึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ในขั้นปฏิบัติการใช้แบบประเมินที่สร้างขึ้น ในขั้นตรวจสอบ กรรมการประเมินทบทวนการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง ในขั้นสะท้อนผล ผู้เกี่ยวข้องนำผลในขั้นตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบการปฏิบัติ</p>\n<p>2.4&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ระบบสะท้อนผลปรับปรุง มีขั้นตอนในการดำเนินการประกอบด้วย ขั้นวางแผน โดยการจัดประชุมคณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลที่ได้จากระบบติดตามตรวจสอบมาร่วมกันวางแผนปรับปรุงแก้ไข ขั้นปฏิบัติการ ผู้เกี่ยวข้องดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้อมูลทีได้แล้วจัดทำเอกสารรายงานผลให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ขั้นตรวจสอบ คณะกรรมการร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมครบถ้วนในกระบวนการปรับปรุงและขั้นสะท้อนผล ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันทบทวนปรับปรุงตามผลจากการตรวจสอบ</p>\n<ol>\n<li><strong>3.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong><strong>ผลการทดลองใช้และประเมินระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร</strong> รอบที่ 1 พบว่า ผลการดำเนินงานของโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของการวิจัยมีค่าสูงกว่าเกณฑ์เกือบทุกตัวชี้วัด สรุปได้ดังนี้</li>\n</ol>\n<p>3.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการประเมินทบทวนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามมาตรฐานระบบ พบว่า ผลการประเมินในด้านนักเรียน และด้านปัจจัยในรอบที่ 1 มีบางตัวชี้วัดไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้วิจัยและผู้เกี่ยวข้องจึงได้พัฒนาในส่วนบกพร่องทำให้ผลจากการประเมินในรอบที่ 2 ผ่านเกณฑ์ทุกตัวชี้วัด</p>\n<p>3.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการประเมินประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานซึ่งกำหนดโดย Stufflebeam และคณะ (1981 อ้างอิงใน ศิริชัย กาญจนวาสี, 2545 : 178-180) โดยพิจารณาจากด้านความเป็นประโยชน์ ด้านความเป็นไปได้ในการปฏิบัติงานจริง ด้านความเหมาะสม ด้านความถูกต้องและความน่าเชื่อถือ และด้านผลที่เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้อง สรุปได้ว่า ประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของการวิจัยจากการทดลองใช้รอบที่ 2 โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าการทดลองใช้ในรอบที่ 1 เกือบทุกตัวชี้วัดนั่นแสดงว่า ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ผู้วิจัยและผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมพัฒนาขึ้นมีประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้นจากการดำเนินงานในรอบที่ 2</p>\n<ol>\n<li><strong>ผลการทดลองใช้และแระเมินระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร รอบที่ 2</strong> พบว่า ผลการดำเนินงานมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ทุกตัวชี้วัด ผลจากการประเมินและปรับปรุงระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแล้วดำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่องส่งผลในด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้</li>\n</ol>\n<p>4.1&nbsp; &nbsp;ด้านการใช้ประโยชน์ของระบบ ตอบสนองต่อความต้องการใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ซึ่งทำให้เกิดการดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหานักเรียน ได้รูปแบบกระบวนการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนภายใต้การมีส่วนร่วมของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถนำไปพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ แล้วรายงานผลการดูแลช่วยเหลือนักเรียนไปยังผู้เกี่ยวข้อง เพื่อนำผลไปใช้ประโยชน์</p>\n<p>4.2&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้านความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ครูที่ปรึกษาและผู้เกี่ยวข้องสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้จริงเป็นที่ยอมรับของผู้บริหาร ครูนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ผลการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีความคุ้มค่า</p>\n<p>4.3&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้านความเหมาะสม สอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งพัฒนาระบบฯ โดยให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน พัฒนาระบบฯ โดยอาศัยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ คำนึงถึงประโยชน์ของนักเรียนเป็นหลัก ดำเนินการตามระบบฯ ด้วยความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณ</p>\n<p>4.4&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้านความถูกต้องน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับความสำคัญและจำเป็นของระบบฯ กระบวนการดำเนินงานตามระบบฯ แสดงด้วยแผนภาพที่ชัดเจนและเจ้าใจง่าย กำหนดตัวชี้วัดและเครื่องมือที่ใช้สอดคล้องกับกระบวนการดำเนินงานของระบบฯ เครื่องมือที่ใช้ในระบบฯ ถูกต้องหลากหลาย และครบถ้วน มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ ระบบฯ ไว้อย่างชัดเจน</p>\n<p>4.5&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้านผลที่เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้อง</p>\n<p>4.5.1&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้านความพึงพอใจ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบฯ มีความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงาน ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน ประเมินผู้เรียนในทิศทางเดียวกันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นทั้งด้านนักเรียน ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้ปกครองและชุมชน</p>\n<p>ด้านการดูแลนักเรียน นักเรียนได้รู้จักตนเอง สามารถปรับตัวมีทักษะทางสังคมและอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ครูผู้สอนนำผลการดำเนินงานตามระบบฯ ไปพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหารโรงเรียนนำข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนไปใช้ในการกำหนดแนวทางในการพัฒนานักเรียน หลักสูตร และคุณภาพการจัดการศึกษา นอกจากนี้ โรงเรียนได้รับการยอมรับการสนับสนุน และการร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง</p>\n', created = 1715452830, expire = 1715539230, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4d88e9ebca23de37949161e28440f4f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ของนักเรียน

ชื่อเรื่อง           การพัฒนาคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ของนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร

ผู้วิจัย              นายสุคน ระเบียบโอษฐ์

ปีที่ทำวิจัย      2560

 

บทคัดย่อ

 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตรโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร 2) เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร 3) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร รอบที่ 1 และ 4) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร รอบที่ 2 แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล หัวหน้าระดับชั้น รองหัวหน้าระดับชั้น ครูแนะแนว ครูที่ปรึกษา นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) คู่มือการสนทนากลุ่ม 2) แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และ 3) แบบสอบถามประเมินความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้

  1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน พบว่า การดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้งสามโรงเรียนสอดคล้องกันกล่าวคือ เน้นที่หัวหน้าระดับและครูที่ปรึกษารับผิดชอบร่วมกัน ฝ่ายบริหารจะให้แนวนโยบายแล้วแจกเอกสารให้ครูได้ปฏิบัติ ไม่มีคู่มือการใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ครูได้ยึดเป็นกรอบแนวปฏิบัติ ไม่มีการสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติ ไม่มีการประเมินทบทวนระบบหลังจากที่ดำเนินงานไปแล้ว ซึ่งทำให้ไม่มีการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานมาใช้ในครั้งต่อไป กระบวนการดำเนินงานขาดการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง คือ ผู้บริหาร ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียน รวมทั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยไม่มีการวางแผนร่วมกัน ผู้เกี่ยวข้องดังกล่าวไม่ได้ให้คำปรึกษาในการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ไม่มีโอกาสให้ข้อเสนอแนะแนวทางในการส่งเสริมพัฒนาแก้ไขนักเรียน

                         ผู้ให้ข้อมูลส่วนมากต้องการให้โรงเรียนพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูที่ปรึกษาและผู้เกี่ยวข้อง จัดทำคู่มือการใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ชัดเจน ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ผู้บริหาร ครูที่ปรึกษา ครูแนะแนว ครูหัวหน้าระดับ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียน การดำเนินงานตามระบบให้มีการวางแผนร่วมกัน ภายหลังดำเนินการแล้วต้องมีการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น

  1. 2.              ผลการศึกษาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีขั้นตอนในการดำเนินการประกอบด้วย

2.1      ขั้นวางแผน โดยการจัดประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง แต่งตั้งคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ และร่วมกันกำหนดบทบาทหน้าที่เพื่อให้กระบวนการดำเนินงานมีประสิทธิผล ขั้นปฏิบัติการ ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันศึกษาปัญหาของโรงเรียนกำหนดแนวทางปฏิบัติ การตรวจสอบ และกาสะท้อนผลการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยยึดกรอบการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี 5 ขั้นตอน คือ (1) การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล (2) การคัดกรอง (3) การส่งเสริมและพัฒนา (4) การป้องกันและแก้ไขปัญหา และ (5) การส่งต่อ กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติ ตรวจสอบ สะท้อนผล และประเมินผลการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือนักเรียน กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติ ตรวจสอบ สะท้อนผล และสรุปเป็นแผนปฏิบัติการ ขั้นตรวจสอบ ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันตรวจสอบแผนปฏิบัติที่ร่วมกันสร้างขึ้น โดยการประเมินความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ ขั้นสะท้อนผล ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันนำผลที่ได้จากขั้นตรวจสอบมาปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ชัดเจนขึ้นสามารถนำไปปฏิบัติได้

2.2          ระบบปฏิบัติการ มีขั้นตอนในการดำเนินงานประกอบด้วย ขั้นวางแผน ดำเนินการโดยผู้บริหารและครูที่เกี่ยวข้องประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้ปกครองและนักเรียนในการดำเนินงานตามระบบวางแผน (Plan) ระบบปฏิบัติการ (Act) ระบบตรวจสอบ (Observe) และระบบสะท้อนผล (Reflect) ครูทีมประสานและทีมทำร่วมกันวิเคราะห์มาตรฐานระบบวางแผน (Plan) ระบบปฏิบัติการ (Act) ระบบตรวจสอบ (Observe) และระบบสะท้อนผล (Reflect) กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน ขั้นปฏิบัติการ ครูที่ปรึกษาปฏิบัติการดูแล่ชวยเหลือนักเรียน ผู้เรียนดูแลแก้ไขพัฒนาตนเองและเพื่อนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนดูแลนักเรียนเมื่ออยู่ที่บ้านและในชุมชน พร้อมกับประสานความร่วมมือกับโรงเรียน เมื่อนักเรียนมีปัญหา ขั้นตรวจสอบ ครูที่ปรึกษา ตรวจสอบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ปฏิบัติว่า เป็นไปตามแนวทางที่ร่วมกันกำหนดขึ้นหรือไม่ โดยครูที่ปรึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ขั้นสะท้อนผลผู้เกี่ยวข้องร่วมกันทบทวนและปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษา

2.3          ระบบติดตามตรวจสอบ มีขั้นตอนในการดำเนินงานประกอบด้วย ขั้นวางแผน ดำเนินการโดย จัดประชุมคณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้อง เตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ขั้นปฏิบัติการ ดำเนินการตรวจสอบการปฏิบัติของครูที่ปรึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ในขั้นปฏิบัติการใช้แบบประเมินที่สร้างขึ้น ในขั้นตรวจสอบ กรรมการประเมินทบทวนการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง ในขั้นสะท้อนผล ผู้เกี่ยวข้องนำผลในขั้นตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบการปฏิบัติ

2.4          ระบบสะท้อนผลปรับปรุง มีขั้นตอนในการดำเนินการประกอบด้วย ขั้นวางแผน โดยการจัดประชุมคณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลที่ได้จากระบบติดตามตรวจสอบมาร่วมกันวางแผนปรับปรุงแก้ไข ขั้นปฏิบัติการ ผู้เกี่ยวข้องดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้อมูลทีได้แล้วจัดทำเอกสารรายงานผลให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ขั้นตรวจสอบ คณะกรรมการร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมครบถ้วนในกระบวนการปรับปรุงและขั้นสะท้อนผล ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันทบทวนปรับปรุงตามผลจากการตรวจสอบ

  1. 3.                    ผลการทดลองใช้และประเมินระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร รอบที่ 1 พบว่า ผลการดำเนินงานของโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของการวิจัยมีค่าสูงกว่าเกณฑ์เกือบทุกตัวชี้วัด สรุปได้ดังนี้

3.1          ผลการประเมินทบทวนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามมาตรฐานระบบ พบว่า ผลการประเมินในด้านนักเรียน และด้านปัจจัยในรอบที่ 1 มีบางตัวชี้วัดไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้วิจัยและผู้เกี่ยวข้องจึงได้พัฒนาในส่วนบกพร่องทำให้ผลจากการประเมินในรอบที่ 2 ผ่านเกณฑ์ทุกตัวชี้วัด

3.2          ผลการประเมินประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานซึ่งกำหนดโดย Stufflebeam และคณะ (1981 อ้างอิงใน ศิริชัย กาญจนวาสี, 2545 : 178-180) โดยพิจารณาจากด้านความเป็นประโยชน์ ด้านความเป็นไปได้ในการปฏิบัติงานจริง ด้านความเหมาะสม ด้านความถูกต้องและความน่าเชื่อถือ และด้านผลที่เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้อง สรุปได้ว่า ประสิทธิผลของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของการวิจัยจากการทดลองใช้รอบที่ 2 โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าการทดลองใช้ในรอบที่ 1 เกือบทุกตัวชี้วัดนั่นแสดงว่า ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ผู้วิจัยและผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมพัฒนาขึ้นมีประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้นจากการดำเนินงานในรอบที่ 2

  1. ผลการทดลองใช้และแระเมินระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการใช้การวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทศบาลวัดท้าวโคตร รอบที่ 2 พบว่า ผลการดำเนินงานมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ทุกตัวชี้วัด ผลจากการประเมินและปรับปรุงระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแล้วดำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่องส่งผลในด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้

4.1   ด้านการใช้ประโยชน์ของระบบ ตอบสนองต่อความต้องการใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ซึ่งทำให้เกิดการดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหานักเรียน ได้รูปแบบกระบวนการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนภายใต้การมีส่วนร่วมของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถนำไปพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ แล้วรายงานผลการดูแลช่วยเหลือนักเรียนไปยังผู้เกี่ยวข้อง เพื่อนำผลไปใช้ประโยชน์

4.2          ด้านความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ครูที่ปรึกษาและผู้เกี่ยวข้องสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้จริงเป็นที่ยอมรับของผู้บริหาร ครูนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ผลการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีความคุ้มค่า

4.3          ด้านความเหมาะสม สอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งพัฒนาระบบฯ โดยให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน พัฒนาระบบฯ โดยอาศัยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ คำนึงถึงประโยชน์ของนักเรียนเป็นหลัก ดำเนินการตามระบบฯ ด้วยความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณ

4.4          ด้านความถูกต้องน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับความสำคัญและจำเป็นของระบบฯ กระบวนการดำเนินงานตามระบบฯ แสดงด้วยแผนภาพที่ชัดเจนและเจ้าใจง่าย กำหนดตัวชี้วัดและเครื่องมือที่ใช้สอดคล้องกับกระบวนการดำเนินงานของระบบฯ เครื่องมือที่ใช้ในระบบฯ ถูกต้องหลากหลาย และครบถ้วน มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ ระบบฯ ไว้อย่างชัดเจน

4.5      ด้านผลที่เกิดขึ้นกับผู้เกี่ยวข้อง

4.5.1         ด้านความพึงพอใจ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบฯ มีความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงาน ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน ประเมินผู้เรียนในทิศทางเดียวกันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นทั้งด้านนักเรียน ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้ปกครองและชุมชน

ด้านการดูแลนักเรียน นักเรียนได้รู้จักตนเอง สามารถปรับตัวมีทักษะทางสังคมและอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ครูผู้สอนนำผลการดำเนินงานตามระบบฯ ไปพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหารโรงเรียนนำข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนไปใช้ในการกำหนดแนวทางในการพัฒนานักเรียน หลักสูตร และคุณภาพการจัดการศึกษา นอกจากนี้ โรงเรียนได้รับการยอมรับการสนับสนุน และการร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 325 คน กำลังออนไลน์