• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c04d54fb45f606300507c60066e558d2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; :&nbsp; การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 5&nbsp; ด้วยการ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD&nbsp; ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้&nbsp;</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย </strong>&nbsp; :&nbsp; นภาภร&nbsp; อักษรเจริญสุข, โรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม&nbsp; อำเภอกันทราลักษณ์&nbsp;&nbsp; จังหวัด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; ศรีสะเกษ&nbsp; ปีการศึกษา&nbsp; 2561.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p class=\"1\">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 5&nbsp; โรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม&nbsp; 2)&nbsp; สร้างและหาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 5&nbsp; ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD&nbsp; ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ &nbsp;&nbsp;3) ทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 5&nbsp; ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD&nbsp; ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ &nbsp;และ&nbsp; 4)&nbsp; ประเมินผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 5&nbsp; ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD&nbsp; ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการวิจัย&nbsp; ดังนี้</p>\n<p class=\"1\">ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 5&nbsp; โรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม&nbsp; แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จำนวน 6 คน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา&nbsp; (Content Analysis)</p>\n<p class=\"1\">ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ &nbsp;แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย คือผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ตรวจสอบความเหมาะสมและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 30 คน เพื่อศึกษาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 นวัตกรรมและเครื่องมือที่ใช้การวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์เรื่องคลื่นกลชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD 2)&nbsp; แบบประเมินความเหมาะสมแผนการจัดการเรียนรู้ 3) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์เรื่องคลื่นกล และ &nbsp;4)&nbsp; แบบประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ &nbsp;สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ()&nbsp; ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน&nbsp; <em>(</em><em>) </em>และการหาประสิทธิภาพโดยการใช้สูตร /</p>\n<p class=\"1\">ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 5&nbsp; ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้&nbsp; กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 &nbsp;จำนวน 34 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน&nbsp; สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย&nbsp; ()&nbsp; &nbsp;ค่าร้อยละ (Percentage)&nbsp; และการทดสอบค่าที&nbsp; (t-test แบบ Dependent Sample)&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p class=\"1\">ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD&nbsp; ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แหล่งข้อมูลคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 จำนวน 34 คน&nbsp; เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียน&nbsp; สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน&nbsp; (<em>S.D.</em>)&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p class=\"1\">&nbsp;</p>\n<p class=\"1\"><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p>\n<p class=\"1\">1. ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ที่ส่งให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนต่ำเกิดจากนักเรียนขาดความสนใจในการเรียนเพราะเป็นวิชาที่มีสาระการเรียนรู้ค่อนข้างยากมีการคิดคำนวณมากโดยเฉพาะหน่วยการเรียนรู้เรื่องคลื่นกลที่มีเนื้อหามากและค่อนข้างยาก รูปแบบการจัดการเรียนรู้ของครูไม่น่าสนใจ&nbsp; ขาดการใช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ นักเรียนไม่มีการช่วยเหลือกันระหว่างเรียน&nbsp; ส่วนแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้คือ ครูผู้สอนควรจัดการเรียนรู้ในแบบกลุ่มเล็กๆ ให้นักเรียนคละความรู้ ความสามารถเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือกันระหว่างเรียน นักเรียนเก่งช่วยนักเรียนที่อ่อนกว่า ครูควรจัดทำสื่อการเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถเรียนได้ทั้งในห้องและนำกลับไปฝึกทบทวนที่บ้านได้ และครูผู้สอนควรใช้เทคนิคการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD เพราะการสอนด้วยวิธีนี้จะทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น</p>\n<ol>\n<li>แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์เรื่องคลื่นกล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD มีจำนวน 9 แผน 18 ชั่วโมง ใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือเทคนิคSTAD จำนวน 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการนำเสนอบทเรียนต่อชั้นเรียน 2)&nbsp; ขั้นการเรียนกลุ่มย่อย &nbsp;3)&nbsp; ขั้นการทดสอบย่อย 4)&nbsp; ขั้นตรวจผลการทดสอบและประเมินความก้าวหน้า และ&nbsp; 5)&nbsp; ขั้นรับรองผลงานและรับรองกลุ่ม ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก&nbsp; ส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้&nbsp; วิชาฟิสิกส์ เรื่องคลื่นกล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีจำนวน 9 ชุด ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และผลการหาประสิทธิภาพการใช้แผนการจัดการเรียนรู้และชุดกิจกรรมการเรียนรู้พบว่ามีประสิทธิภาพเท่ากับ&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;80.74 /81.17 &nbsp;สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด</li>\n<li>นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคะแนนผ่านเกณฑ์ที่กำหนด</li>\n<li>นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักเรียนพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน &nbsp;ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด</li>\n</ol>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1715831508, expire = 1715917908, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c04d54fb45f606300507c60066e558d2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ประกอบช

ชื่อเรื่อง          :  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  ด้วยการ

             จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD  ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 

ผู้วิจัย   :  นภาภร  อักษรเจริญสุข, โรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม  อำเภอกันทราลักษณ์   จังหวัด

             ศรีสะเกษ  ปีการศึกษา  2561.

 

บทคัดย่อ

 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  โรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม  2)  สร้างและหาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD  ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้   3) ทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD  ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้  และ  4)  ประเมินผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD  ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการวิจัย  ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  โรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม  แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จำนวน 6 คน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา  (Content Analysis)

ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้  แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย คือผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ตรวจสอบความเหมาะสมและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 30 คน เพื่อศึกษาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 นวัตกรรมและเครื่องมือที่ใช้การวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์เรื่องคลื่นกลชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD 2)  แบบประเมินความเหมาะสมแผนการจัดการเรียนรู้ 3) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์เรื่องคลื่นกล และ  4)  แบบประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมการเรียนรู้  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ()  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  () และการหาประสิทธิภาพโดยการใช้สูตร /

ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้  กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3  จำนวน 34 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย  ()   ค่าร้อยละ (Percentage)  และการทดสอบค่าที  (t-test แบบ Dependent Sample) 

 

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD  ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แหล่งข้อมูลคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 จำนวน 34 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  (S.D.)   

 

ผลการวิจัย พบว่า

1. ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ที่ส่งให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนักเรียนต่ำเกิดจากนักเรียนขาดความสนใจในการเรียนเพราะเป็นวิชาที่มีสาระการเรียนรู้ค่อนข้างยากมีการคิดคำนวณมากโดยเฉพาะหน่วยการเรียนรู้เรื่องคลื่นกลที่มีเนื้อหามากและค่อนข้างยาก รูปแบบการจัดการเรียนรู้ของครูไม่น่าสนใจ  ขาดการใช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ นักเรียนไม่มีการช่วยเหลือกันระหว่างเรียน  ส่วนแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้คือ ครูผู้สอนควรจัดการเรียนรู้ในแบบกลุ่มเล็กๆ ให้นักเรียนคละความรู้ ความสามารถเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือกันระหว่างเรียน นักเรียนเก่งช่วยนักเรียนที่อ่อนกว่า ครูควรจัดทำสื่อการเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถเรียนได้ทั้งในห้องและนำกลับไปฝึกทบทวนที่บ้านได้ และครูผู้สอนควรใช้เทคนิคการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD เพราะการสอนด้วยวิธีนี้จะทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

  1. แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์เรื่องคลื่นกล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD มีจำนวน 9 แผน 18 ชั่วโมง ใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือเทคนิคSTAD จำนวน 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการนำเสนอบทเรียนต่อชั้นเรียน 2)  ขั้นการเรียนกลุ่มย่อย  3)  ขั้นการทดสอบย่อย 4)  ขั้นตรวจผลการทดสอบและประเมินความก้าวหน้า และ  5)  ขั้นรับรองผลงานและรับรองกลุ่ม ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก  ส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้  วิชาฟิสิกส์ เรื่องคลื่นกล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีจำนวน 9 ชุด ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และผลการหาประสิทธิภาพการใช้แผนการจัดการเรียนรู้และชุดกิจกรรมการเรียนรู้พบว่ามีประสิทธิภาพเท่ากับ     80.74 /81.17  สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด
  2. นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคะแนนผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
  3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักเรียนพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน  ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 250 คน กำลังออนไลน์