• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1272ac35d92ea8e519f2fec00a7e6cee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อผลงานวิจัย</strong> การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ การคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย</p>\n<p><strong>ชื่อ – ชื่อสกุลผู้วิจัย</strong> นางสาวสาวบน เด็นหมัด</p>\n<p><strong>ปีที่ทำวิจัย</strong> 2560</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2) ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน 27 คน ที่ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา 6) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่าทีแบบไม่อิสระ (t-test for Dependent Samples)</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ผลการวิจัย พบว่า</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาตอนปลายมีชื่อว่า “PACEA Model” มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ (1) ขั้นเตรียมพร้อม (Preparation) (2) ขั้นลงมือปฏิบัติ (Action) (3) ขั้นสรุป (Conclusion) (4) ขั้นประเมินผล (Evaluation) และ (5) ขั้นประยุกต์ใช้ (Application) 4) การวัดและประเมินผล และ 5) เงื่อนไขสำคัญในการนำรูปแบบไปใช้ให้ประสบผลสำเร็จโดยพบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.21/80.73</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;2. ประสิทธิผลของรูปแบบพบว่า 2.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเคมี 3 เรื่องอัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมีของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2) ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านอยู่ในระดับสูง 2.3 ) ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับอยู่ในระดับสูง และ 2.4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านอยู่ในระดับมากที่สุด</p>\n', created = 1715885332, expire = 1715971732, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1272ac35d92ea8e519f2fec00a7e6cee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน

ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ การคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ชื่อ – ชื่อสกุลผู้วิจัย นางสาวสาวบน เด็นหมัด

ปีที่ทำวิจัย 2560

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2) ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน 27 คน ที่ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา 6) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่าทีแบบไม่อิสระ (t-test for Dependent Samples)

         ผลการวิจัย พบว่า

         1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาตอนปลายมีชื่อว่า “PACEA Model” มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ (1) ขั้นเตรียมพร้อม (Preparation) (2) ขั้นลงมือปฏิบัติ (Action) (3) ขั้นสรุป (Conclusion) (4) ขั้นประเมินผล (Evaluation) และ (5) ขั้นประยุกต์ใช้ (Application) 4) การวัดและประเมินผล และ 5) เงื่อนไขสำคัญในการนำรูปแบบไปใช้ให้ประสบผลสำเร็จโดยพบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.21/80.73

         2. ประสิทธิผลของรูปแบบพบว่า 2.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเคมี 3 เรื่องอัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมีของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2) ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านอยู่ในระดับสูง 2.3 ) ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับอยู่ในระดับสูง และ 2.4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมีตามแนวคิด Active Learning ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านอยู่ในระดับมากที่สุด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 258 คน กำลังออนไลน์