• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9cd1b56be0aa1f7930d49a2bce5692f7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong>&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การประเมินโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ <br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย</p>\n<p><strong>ผู้ศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>ปรีชา&nbsp; ศรีทา</p>\n<p><strong>ปีการศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>2560</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p>การประเมินโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินสภาวะแวดล้อมของโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว 2) เพื่อประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว 3) เพื่อประเมินกระบวนการของการจัดกิจกรรมในโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว และ 4) เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว โดยใช้รูปแบบการประเมินโครงการแบบซิปโมเดล (CIPP Model) ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 15 คน คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 18 คน ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน พนักงานครูเทศบาล จำนวน 36 คน รวมทั้งสิ้น 38 คน นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จำนวน 70 คน ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จำนวน 70 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม จำนวน 7 ฉบับ ได้แก่ 1) แบบสอบถามฉบับที่ 1 แบบสอบถามเพื่อประเมินสภาวะแวดล้อม โดยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว เป็นผู้ตอบแบบประเมิน 2) แบบสอบถามฉบับที่ 2 แบบสอบถามเพื่อประเมินปัจจัยนำเข้า โดยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว เป็นผู้ตอบแบบประเมิน 3) แบบสอบถามฉบับที่ 3 แบบสอบถามเพื่อประเมินกระบวนการ โดยผู้บริหารสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว เป็นผู้ตอบแบบประเมิน 4) แบบสอบถามฉบับที่ 4 แบบสอบถามเพื่อประเมินกระบวนการ โดยผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เป็นผู้ตอบแบบประเมิน 5) แบบสอบถามฉบับที่ 5 แบบสอบถามเพื่อประเมินผลผลิต โดยการประเมินความพึงพอใจ ของผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว 6) แบบสอบถามฉบับที่ 6 แบบสอบถามเพื่อประเมินผลผลิต โดยการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ และ 7) แบบสอบถามฉบับที่ 7 แบบสอบถามเพื่อประเมินผลผลิต โดยการประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการประเมิน พบว่า&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. ผลการประเมินด้านสภาวะแวดล้อมของโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้าของโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ผลการประเมินกระบวนการของการจัดกิจกรรมในโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทั้งการประเมินโดยผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว และผู้ปกครองนักเรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย ด้านระดับความพึงพอใจ พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทั้งการประเมินโดยผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการประเมินผลผลิตของโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ของนักเรียนในโครงการห้องเรียนพิเศษฯ พบว่า ในภาพรวม ค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่ได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป <br /> ในวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ในขณะที่วิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 85.71 ส่วนค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่ได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป ในสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม วิชาวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ คิดเป็นร้อยละ 100.00 วิชา SCIENCE และ MATH คิดเป็นร้อยละ 98.57 วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 95.71 และวิชาคณิตศาสตร์เข้ม คิดเป็นร้อยละ 91.43 ตามลำดับ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1715476889, expire = 1715563289, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9cd1b56be0aa1f7930d49a2bce5692f7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การประเมินโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย

ชื่อเรื่อง        การประเมินโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
                   และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย

ผู้ศึกษา         ปรีชา  ศรีทา

ปีการศึกษา    2560

                                                                            บทคัดย่อ

การประเมินโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินสภาวะแวดล้อมของโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว 2) เพื่อประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว 3) เพื่อประเมินกระบวนการของการจัดกิจกรรมในโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว และ 4) เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว โดยใช้รูปแบบการประเมินโครงการแบบซิปโมเดล (CIPP Model) ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 15 คน คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 18 คน ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน พนักงานครูเทศบาล จำนวน 36 คน รวมทั้งสิ้น 38 คน นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จำนวน 70 คน ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จำนวน 70 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม จำนวน 7 ฉบับ ได้แก่ 1) แบบสอบถามฉบับที่ 1 แบบสอบถามเพื่อประเมินสภาวะแวดล้อม โดยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว เป็นผู้ตอบแบบประเมิน 2) แบบสอบถามฉบับที่ 2 แบบสอบถามเพื่อประเมินปัจจัยนำเข้า โดยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว เป็นผู้ตอบแบบประเมิน 3) แบบสอบถามฉบับที่ 3 แบบสอบถามเพื่อประเมินกระบวนการ โดยผู้บริหารสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว เป็นผู้ตอบแบบประเมิน 4) แบบสอบถามฉบับที่ 4 แบบสอบถามเพื่อประเมินกระบวนการ โดยผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เป็นผู้ตอบแบบประเมิน 5) แบบสอบถามฉบับที่ 5 แบบสอบถามเพื่อประเมินผลผลิต โดยการประเมินความพึงพอใจ ของผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว 6) แบบสอบถามฉบับที่ 6 แบบสอบถามเพื่อประเมินผลผลิต โดยการประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ และ 7) แบบสอบถามฉบับที่ 7 แบบสอบถามเพื่อประเมินผลผลิต โดยการประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษส่งเสริมวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

          ผลการประเมิน พบว่า 

          1. ผลการประเมินด้านสภาวะแวดล้อมของโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด

          2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้าของโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก

          3. ผลการประเมินกระบวนการของการจัดกิจกรรมในโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทั้งการประเมินโดยผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว และผู้ปกครองนักเรียน

          4. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย ด้านระดับความพึงพอใจ พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทั้งการประเมินโดยผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว

              ผลการประเมินผลผลิตของโครงการห้องเรียนพิเศษหลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล ๒ หนองบัว จังหวัดเชียงราย ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ของนักเรียนในโครงการห้องเรียนพิเศษฯ พบว่า ในภาพรวม ค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่ได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป
ในวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ในขณะที่วิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 85.71 ส่วนค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่ได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป ในสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม วิชาวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ คิดเป็นร้อยละ 100.00 วิชา SCIENCE และ MATH คิดเป็นร้อยละ 98.57 วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 95.71 และวิชาคณิตศาสตร์เข้ม คิดเป็นร้อยละ 91.43 ตามลำดับ

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 229 คน กำลังออนไลน์