• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3202c0cb94d59228cbe294a6274d2f1d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์&nbsp; โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช</p>\n<p>ชื่อผู้วิจัย&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นายเกรียงไกร&nbsp; วุฒิมานพ</p>\n<p>หน่วยงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp; โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช&nbsp; สำนักการศึกษา&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เทศบาลนครนครศรีธรรมราช&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช&nbsp; จังหวัดนครศรีธรรมราช&nbsp;</p>\n<p>ปีที่ทำวิจัย&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2559</p>\n<p align=\"center\">บทคัดย่อ</p>\n<p>การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDEเพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาความต้องการการนิเทศการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช&nbsp;&nbsp; 2) สร้างและพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDEเพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช 3) ทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช&nbsp; ก่อนและหลังการใช้รูปแบบการนิเทศการสอน&nbsp; และ 4) ประเมินและปรับปรุงรูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช&nbsp; ซึ่งการดำเนินการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นการนิเทศการสอน ขั้นตอนที่ 2 สร้างและพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการสอน&nbsp; และขั้นตอนที่ 4 ประเมินรูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 3 คน&nbsp; ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–6 จำนวน 18 คน&nbsp; และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6&nbsp; ที่มีผลการเรียน ระดับ 3.5 ขึ้นไป จำนวน 60 คน&nbsp; ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา&nbsp; 2559 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive&nbsp; Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาและความต้องการนิเทศการสอน&nbsp; 2) แบบประเมินรูปแบบการนิเทศการสอน 3) แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์&nbsp; 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน&nbsp; และ 5) แบบประเมินสมรรถภาพการนิเทศ ต่อการจัดการเรียนรู้ของครู&nbsp; วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติขั้นพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าร้อยละ&nbsp;</p>\n<p>ผลการวิจัยพบว่า</p>\n<p>1.&nbsp; ผลการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการการนิเทศการสอน SIPDE เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ พบว่าผู้บริหารและครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีความต้องการการนิเทศการสอน ด้านความรู้พื้นฐานและวัตถุประสงค์ ด้านโครงสร้างขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง ด้านกระบวนการนิเทศการสอน และด้านข้อบ่งชี้สภาพความสำเร็จ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.21)</p>\n<p>2. ผลการสร้างและพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์&nbsp; พบว่ารูปแบบการนิเทศการสอน&nbsp; ของโรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช&nbsp; ประกอบด้วยขั้นตอนกระบวนการของการดำเนินงานนิเทศการสอน 5 ขั้นตอน ที่เรียกว่า “SIPDE Model” ประกอบด้วย 1) ขั้นศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น (Survey : S)&nbsp; 2) ขั้นให้ความรู้ก่อนการนิเทศการสอน (Information : I)&nbsp; 3) ขั้นวางแผนการนิเทศการสอน (Planning : P)&nbsp; 4) ขั้นปฏิบัติการนิเทศการสอน (Doing : D) และ 5) ขั้นประเมินผลการนิเทศการสอน&nbsp; (Evaluating : E)</p>\n<p>3.&nbsp; ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์&nbsp;&nbsp; โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช&nbsp; สมรรถภาพการนิเทศการสอนต่อการจัดการเรียนรู้ของครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ด้านครูผู้สอน ด้านบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผล&nbsp; โดยรวมผ่านเกณฑ์อยู่ในระดับดี&nbsp;&nbsp; และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 หลังใช้รูปแบบการนิเทศการสอน สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการนิเทศการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p>\n<p>4. ผลการประเมินรูปแบบการนิเทศการสอน ของผู้บริหารและครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ที่ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช มีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมาก (= 4.12)</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1716337914, expire = 1716424314, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3202c0cb94d59228cbe294a6274d2f1d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช

ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์  โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช

ชื่อผู้วิจัย          นายเกรียงไกร  วุฒิมานพ

หน่วยงาน        โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช  สำนักการศึกษา 

                             เทศบาลนครนครศรีธรรมราช      อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช  จังหวัดนครศรีธรรมราช 

ปีที่ทำวิจัย        2559

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDEเพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาความต้องการการนิเทศการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช   2) สร้างและพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDEเพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช 3) ทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช  ก่อนและหลังการใช้รูปแบบการนิเทศการสอน  และ 4) ประเมินและปรับปรุงรูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช  ซึ่งการดำเนินการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นการนิเทศการสอน ขั้นตอนที่ 2 สร้างและพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการสอน  และขั้นตอนที่ 4 ประเมินรูปแบบการนิเทศการสอน SIPDE กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 3 คน  ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–6 จำนวน 18 คน  และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6  ที่มีผลการเรียน ระดับ 3.5 ขึ้นไป จำนวน 60 คน  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา  2559 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive  Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาและความต้องการนิเทศการสอน  2) แบบประเมินรูปแบบการนิเทศการสอน 3) แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์  4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  และ 5) แบบประเมินสมรรถภาพการนิเทศ ต่อการจัดการเรียนรู้ของครู  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติขั้นพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าร้อยละ 

ผลการวิจัยพบว่า

1.  ผลการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการการนิเทศการสอน SIPDE เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ พบว่าผู้บริหารและครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีความต้องการการนิเทศการสอน ด้านความรู้พื้นฐานและวัตถุประสงค์ ด้านโครงสร้างขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง ด้านกระบวนการนิเทศการสอน และด้านข้อบ่งชี้สภาพความสำเร็จ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.21)

2. ผลการสร้างและพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์  พบว่ารูปแบบการนิเทศการสอน  ของโรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช  ประกอบด้วยขั้นตอนกระบวนการของการดำเนินงานนิเทศการสอน 5 ขั้นตอน ที่เรียกว่า “SIPDE Model” ประกอบด้วย 1) ขั้นศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น (Survey : S)  2) ขั้นให้ความรู้ก่อนการนิเทศการสอน (Information : I)  3) ขั้นวางแผนการนิเทศการสอน (Planning : P)  4) ขั้นปฏิบัติการนิเทศการสอน (Doing : D) และ 5) ขั้นประเมินผลการนิเทศการสอน  (Evaluating : E)

3.  ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์   โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช  สมรรถภาพการนิเทศการสอนต่อการจัดการเรียนรู้ของครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ด้านครูผู้สอน ด้านบรรยากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผล  โดยรวมผ่านเกณฑ์อยู่ในระดับดี   และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 หลังใช้รูปแบบการนิเทศการสอน สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการนิเทศการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

4. ผลการประเมินรูปแบบการนิเทศการสอน ของผู้บริหารและครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ที่ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช มีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมาก (= 4.12)

 

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 320 คน กำลังออนไลน์