• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('คุยหน้าบ้าน ปี 2549', 'node/360', '', '3.149.232.215', 0, 'b00ec495759e75a37f1c6ad298c6a972', 175, 1716065538) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ae5e88bdbbe30b56ca402868682c284d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table border=\"0\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"151\">\n<p><strong>ชื่อเรื่อง</strong></p>\n</td>\n<td valign=\"top\" width=\"420\">\n<p>การประเมินโครงการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา</p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"151\">\n<p><strong>ผู้ศึกษาค้นคว้า</strong></p>\n</td>\n<td valign=\"top\" width=\"420\">\n<p>สุรินทร์&nbsp; เพ็ชรนิล</p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"151\">\n<p><strong>สถานศึกษา</strong></p>\n</td>\n<td valign=\"top\" width=\"420\">\n<p>โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา</p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p>การประเมินโครงการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา การประเมินโครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1) ศึกษาสภาพการปฏิบัติ และความต้องการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 2) เพื่อประเมินผลการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 3) เพื่อการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา&nbsp; กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 243 คน ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 243 คนครู จำนวน 49 คน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 13 คน&nbsp; รวมทั้งสิ้น 548 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสอบถามเพื่อการประเมินโครงการ เรื่อง การประเมินโครงการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 2) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม เรื่อง แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 3) แบบบันทึกการนิเทศติดตามผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบ&nbsp;&nbsp;&nbsp; มีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สรุปผลการประเมิน</strong></p>\n<p>1. การศึกษาสภาพการปฏิบัติ และความต้องการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา ภาพรวมสภาพปฏิบัติ ตามองค์ประกอบ 5 ด้าน พบว่า ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการพัฒนาระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสรุปผลสภาพการปฏิบัติและความต้องการ พัฒนาแต่ละด้าน ตามองค์ประกอบ 5 ด้าน ดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.1 ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล สภาพปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.2 ด้านการคัดกรองนักเรียน ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับมาก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.3 ด้านการส่งเสริมนักเรียน ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับมาก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.4 ด้านการป้องกันและการแก้ไข ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.5 ด้านการส่งต่อ ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง</p>\n<p>2. การพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา พบว่า สภาพปฏิบัติและความต้องการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้ประเมินโครงการใช้วิธีสนทนากลุ่ม เพื่อให้มีการระดมความคิด การแสดง ความคิดเห็นที่หลากหลาย ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาจากผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการประเมินผลการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากการเลือกประเด็นที่ต้องการพัฒนา และประเมินผลการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากการนิเทศติดตามผล ดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.1 การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากประเด็นที่เลือกพัฒนาตามองค์ประกอบ&nbsp;&nbsp; 5 ด้าน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.1.1 ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล พบว่า สภาพปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ผู้ประเมินโครงการได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุด และความต้องการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ การจัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลที่มีความสมบูรณ์</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.1.2 ด้านการคัดกรองนักเรียน ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ผู้ประเมินโครงการได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุด และมีความต้องการพัฒนามากที่สุด คือ การนำผลการคัดกรองมาพัฒนาและส่งเสริมนักเรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.1.3 ด้านการส่งเสริมนักเรียน ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ผู้ประเมินโครงการได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุด และมีความต้องการพัฒนามากที่สุด คือ การมีส่วนร่วมคิดในการวางแผนจัดกิจกรรมส่งเสริมนักเรียนของนักเรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.1.4 ด้านการป้องกันและการแก้ไข ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้ประเมินโครงการได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุดและมีความต้องการพัฒนามากที่สุดดือ การจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและความร่วมมือจากครู ผู้บริหาร ผู้ปกครองนักเรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.15 ด้านการส่งต่อ ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ผู้ประเมินโครงการ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;ได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุด และมีความต้องการพัฒนามากที่สุด คือ &nbsp;&nbsp;การประสานงานกับครูช่วยเหลือนักเรียนภายในโรงเรียน เช่น ครูแนะแนว ครูฝ่ายกิจการนักเรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.2 ประเมินผลการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากการนิเทศติดตามผล พบว่า ผลการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก</p>\n<p>3. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา&nbsp;&nbsp; ขั้นพื้นฐาน ต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด</p>\n', created = 1716065548, expire = 1716151948, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ae5e88bdbbe30b56ca402868682c284d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การประเมินโครงการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา

ชื่อเรื่อง

การประเมินโครงการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา

ผู้ศึกษาค้นคว้า

สุรินทร์  เพ็ชรนิล

สถานศึกษา

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา

 

บทคัดย่อ

 

การประเมินโครงการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา การประเมินโครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ       1) ศึกษาสภาพการปฏิบัติ และความต้องการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 2) เพื่อประเมินผลการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 3) เพื่อการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน     ต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 243 คน ผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 243 คนครู จำนวน 49 คน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 13 คน  รวมทั้งสิ้น 548 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสอบถามเพื่อการประเมินโครงการ เรื่อง การประเมินโครงการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 2) แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม เรื่อง แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 3) แบบบันทึกการนิเทศติดตามผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบ    มีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ

         สรุปผลการประเมิน

1. การศึกษาสภาพการปฏิบัติ และความต้องการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา ภาพรวมสภาพปฏิบัติ ตามองค์ประกอบ 5 ด้าน พบว่า ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการพัฒนาระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสรุปผลสภาพการปฏิบัติและความต้องการ พัฒนาแต่ละด้าน ตามองค์ประกอบ 5 ด้าน ดังนี้

     1.1 ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล สภาพปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง

     1.2 ด้านการคัดกรองนักเรียน ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับมาก

     1.3 ด้านการส่งเสริมนักเรียน ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับมาก

     1.4 ด้านการป้องกันและการแก้ไข ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง

     1.5 ด้านการส่งต่อ ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลาง

2. การพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียน        ราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา พบว่า สภาพปฏิบัติและความต้องการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้ประเมินโครงการใช้วิธีสนทนากลุ่ม เพื่อให้มีการระดมความคิด การแสดง ความคิดเห็นที่หลากหลาย ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาจากผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการประเมินผลการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากการเลือกประเด็นที่ต้องการพัฒนา และประเมินผลการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากการนิเทศติดตามผล ดังนี้

     2.1 การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากประเด็นที่เลือกพัฒนาตามองค์ประกอบ   5 ด้าน

         2.1.1 ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล พบว่า สภาพปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ผู้ประเมินโครงการได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุด และความต้องการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ การจัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลที่มีความสมบูรณ์

         2.1.2 ด้านการคัดกรองนักเรียน ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ผู้ประเมินโครงการได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุด และมีความต้องการพัฒนามากที่สุด คือ การนำผลการคัดกรองมาพัฒนาและส่งเสริมนักเรียน

         2.1.3 ด้านการส่งเสริมนักเรียน ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ผู้ประเมินโครงการได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุด และมีความต้องการพัฒนามากที่สุด คือ การมีส่วนร่วมคิดในการวางแผนจัดกิจกรรมส่งเสริมนักเรียนของนักเรียน

         2.1.4 ด้านการป้องกันและการแก้ไข ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง             ผู้ประเมินโครงการได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุดและมีความต้องการพัฒนามากที่สุดดือ การจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและความร่วมมือจากครู ผู้บริหาร ผู้ปกครองนักเรียน

         2.15 ด้านการส่งต่อ ระดับปฏิบัติภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ผู้ประเมินโครงการ        ได้ร่วมกันเลือกประเด็นที่มีสภาพการปฏิบัติน้อยที่สุด และมีความต้องการพัฒนามากที่สุด คือ   การประสานงานกับครูช่วยเหลือนักเรียนภายในโรงเรียน เช่น ครูแนะแนว ครูฝ่ายกิจการนักเรียน

     2.2 ประเมินผลการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากการนิเทศติดตามผล พบว่า ผลการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก

3. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา   ขั้นพื้นฐาน ต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 43 จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 234 คน กำลังออนไลน์