• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ปิโตรเลียม', 'node/132082', '', '3.147.85.175', 0, 'ae5d079cbda888f4b8587d74a179a4a1', 191, 1716047490) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e53e568e73e8f0a32c7ebc9cceb98379' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong>&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัย</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;อยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) จังหวัดยะลา</p>\n<p><strong>ผู้ศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>นางกนกภรณ์&nbsp; รัตนยิ่ง</p>\n<p><strong>ปีการศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>2557</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<h1>บทคัดย่อ</h1>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) จังหวัดยะลา เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยพื้นฐานเบื้องต้นที่ส่งผลต่อความสำเร็จใน การพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) 2) เพื่อออกแบบและสร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) และ 4) เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบ&nbsp; การบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) ดังนี้ 4.1) ผลการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน 4.2) ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์/อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน และ 4.3) ผลการประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูผู้สอน นักเรียนและผู้ปกครอง ที่มีต่อรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี)ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน รองผู้อำนวยการสถานศึกษาและรักษาการรองผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 3 คน คณะครูผู้สอน จำนวน 64 คนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 15 คน ผู้ปกครองนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 877 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 877 คน รวมประชากรทั้งสิ้น จำนวน 1,837 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้มีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie &amp; Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 610 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ดังนี้ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการและรักษาการรองผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 3 คน คณะครูผู้สอน จำนวน 56 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 13 คน ผู้ปกครองนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 269 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 269 คน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 610 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานเบื้องต้นในการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 1 ชุด 2) แบบสัมภาษณ์การบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นศูนย์&nbsp;&nbsp;&nbsp; การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด 3) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 1 ชุด 4) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 1 ชุด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า</p>\n<p>1. ผลการศึกษาปัจจัยพื้นฐานเบื้องต้นที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) โดยภาพรวม เกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจ จากความจงรักภักดี การเคารพเชื่อมั่น ศรัทธา เทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริย์ และการปฏิบัติตนตามรอยเบื้องพระยุคลบาท มีการยึดหลักการบริหารตามหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือ การพัฒนาคนที่เป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาโรงเรียนเป็นสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) จากแรงบันดาลใจไปสู่การพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบตั้งแต่การพัฒนาบุคลากร ชุมชน และปรับปรุงอาคารสถานที่ ตลอดจนสภาพแวดล้อมรอบ ๆ บริเวณโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยคำนึงถึงปัจจัยทั้งภายในและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน</p>\n<p>2. ผลการออกแบบและสร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อม</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ 2 การจัดระบบการเรียนรู้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ 3 กิจกรรมโรงเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ 4 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นที่ 5 การสร้างเครือข่ายและขยายผล</p>\n<p>3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์&nbsp;&nbsp; การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) พบว่า รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษามีความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติ และควรมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจนที่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ&nbsp; ได้จริง</p>\n<p>4. ผลการประเมินการใช้รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์&nbsp;&nbsp;&nbsp; การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) มีดังนี้</p>\n<p>4.1 ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) ในรูปแบบที่กำหนดขั้นตอนที่เหมาะสม ซึ่งในแต่ละขั้นตอนมีการกำหนดรายละเอียดและขอบข่ายของงานที่เหมาะกับบุคลากรทั้งในและนอกโรงเรียน เพื่อการนำสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี)</p>\n<p>4.2 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปีการศึกษา 2557 และปีการศึกษา 2558 พบว่า ในปีการศึกษา 2557 ผลการประเมินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 มีระดับคุณภาพเฉลี่ยรวมเท่ากับ 94.85 และในปีการศึกษา 2558 มีระดับคุณภาพเฉลี่ยรวมเท่ากับ 98.40 และเมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยของปีการศึกษา 2557 และปีการศึกษา 2558 พบว่า ระดับคุณภาพเฉลี่ยของปีการศึกษา 2558 มีระดับคุณภาพเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2557 โดยรวมมีระดับคุณภาพในระดับดีทั้งสองปีการศึกษา</p>\n<p>4.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูผู้สอน นักเรียน และผู้ปกครอง พบว่า มีระดับความพึงพอในในระดับมากทุกรายการ</p>\n', created = 1716047500, expire = 1716133900, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e53e568e73e8f0a32c7ebc9cceb98379' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา

ชื่อเรื่อง           การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้

                     ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัย

                     อยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) จังหวัดยะลา

ผู้ศึกษา            นางกนกภรณ์  รัตนยิ่ง

ปีการศึกษา     2557

 

บทคัดย่อ

 

                   การวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) จังหวัดยะลา เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยพื้นฐานเบื้องต้นที่ส่งผลต่อความสำเร็จใน การพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) 2) เพื่อออกแบบและสร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) และ 4) เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบ  การบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) ดังนี้ 4.1) ผลการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน 4.2) ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์/อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน และ 4.3) ผลการประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูผู้สอน นักเรียนและผู้ปกครอง ที่มีต่อรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี)ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน รองผู้อำนวยการสถานศึกษาและรักษาการรองผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 3 คน คณะครูผู้สอน จำนวน 64 คนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 15 คน ผู้ปกครองนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 877 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 877 คน รวมประชากรทั้งสิ้น จำนวน 1,837 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้มีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 610 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ดังนี้ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการและรักษาการรองผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 3 คน คณะครูผู้สอน จำนวน 56 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 13 คน ผู้ปกครองนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 269 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 269 คน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 610 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานเบื้องต้นในการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 1 ชุด 2) แบบสัมภาษณ์การบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นศูนย์    การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชุด 3) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 1 ชุด 4) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 จำนวน 1 ชุด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า

1. ผลการศึกษาปัจจัยพื้นฐานเบื้องต้นที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) โดยภาพรวม เกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจ จากความจงรักภักดี การเคารพเชื่อมั่น ศรัทธา เทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริย์ และการปฏิบัติตนตามรอยเบื้องพระยุคลบาท มีการยึดหลักการบริหารตามหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือ การพัฒนาคนที่เป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาโรงเรียนเป็นสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) จากแรงบันดาลใจไปสู่การพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบตั้งแต่การพัฒนาบุคลากร ชุมชน และปรับปรุงอาคารสถานที่ ตลอดจนสภาพแวดล้อมรอบ ๆ บริเวณโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยคำนึงถึงปัจจัยทั้งภายในและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน

2. ผลการออกแบบและสร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้

                                ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อม

                                ขั้นที่ 2 การจัดระบบการเรียนรู้

                                ขั้นที่ 3 กิจกรรมโรงเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

                                ขั้นที่ 4 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

                                ขั้นที่ 5 การสร้างเครือข่ายและขยายผล

3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์   การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) พบว่า รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษามีความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติ และควรมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจนที่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ  ได้จริง

4. ผลการประเมินการใช้รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การเป็นศูนย์    การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) มีดังนี้

4.1 ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาพอเพียงสู่การพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) ในรูปแบบที่กำหนดขั้นตอนที่เหมาะสม ซึ่งในแต่ละขั้นตอนมีการกำหนดรายละเอียดและขอบข่ายของงานที่เหมาะกับบุคลากรทั้งในและนอกโรงเรียน เพื่อการนำสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี)

4.2 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน    ปีการศึกษา 2557 และปีการศึกษา 2558 พบว่า ในปีการศึกษา 2557 ผลการประเมินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-6 มีระดับคุณภาพเฉลี่ยรวมเท่ากับ 94.85 และในปีการศึกษา 2558 มีระดับคุณภาพเฉลี่ยรวมเท่ากับ 98.40 และเมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยของปีการศึกษา 2557 และปีการศึกษา 2558 พบว่า ระดับคุณภาพเฉลี่ยของปีการศึกษา 2558 มีระดับคุณภาพเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2557 โดยรวมมีระดับคุณภาพในระดับดีทั้งสองปีการศึกษา

4.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูผู้สอน นักเรียน และผู้ปกครอง พบว่า มีระดับความพึงพอในในระดับมากทุกรายการ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 254 คน กำลังออนไลน์