• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('สุภาษิต คำพังเพย สำนวนไทย หมวด ก', 'node/48929', '', '3.15.22.163', 0, 'b9bdba7d87a556cf6dfbe4363bf4678b', 148, 1715939328) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d15a0bf55ecf1c6c3874529cbf30785e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ชื่อเรื่อง การพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง<br /> วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2<br />ชื่อผู้วิจัย นางอรชร โคตพันธ์<br />โรงเรียน ไพรบึงวิทยาคม อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ<br />ปีที่วิจัย ปีการศึกษา 2558 - 2559<br />บทคัดย่อ<br /> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 3) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 การทดลองการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 4 การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 41 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วย 1)แบบสอบถาม 2)กล่องไม้พอเพียง 2) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 13 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 40 ข้อ มีค่าความยาก .38 - .94 ค่าอำนาจจำแนก .30 - .67 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .91 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนก .16 - .68 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบ t-test แบบ dependent samples</p>\n<p><br />ผลการวิจัยพบว่า <br /> 1. ผลจากการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยรวมปฏิบัติอยู่ในระดับดี ปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เป็นปัญหาของครู โดยภาพรวม มีปัญหามาก ได้แก่ ครูขาดนวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ ครูขาดการพัฒนาเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใหม่ๆ ปัญหาที่เกิดจากนักเรียน โดยภาพรวมมีปัญหาในระดับมาก ได้แก่ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ต่ำ และความต้องการของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือครูต้องการพัฒนานวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัย ต้องการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในหัวข้อใหม่ๆ อย่างหลากหลาย โดยเน้นให้สามารถนำไปใช้ได้จริง และต้องการสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นรูปธรรม เหมาะสมและเพียงพอ ปัญหาในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ได้แก่ ครูสอนจริงจัง ไม่ใช้สื่อในการสอน ทำให้เครียด ครูเข้มงวดทำให้บรรยากาศในการเรียนเครียด ไม่อยากเรียน นักเรียนได้เสนอความต้องการที่จะเรียนวิชาคณิตศาสตร์อย่างมีความสุข โดยให้ครูจัดหาสื่อการสอนที่หลากหลาย <br /> 2. ประสิทธิภาพของการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.70/81.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 75/75 <br />3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า หลังเรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 <br />4. ความพึงพอใจของนักเรียนหลังเรียนด้วยการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1715939338, expire = 1716025738, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d15a0bf55ecf1c6c3874529cbf30785e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชื่อเรื่อง การพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง
วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อผู้วิจัย นางอรชร โคตพันธ์
โรงเรียน ไพรบึงวิทยาคม อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ
ปีที่วิจัย ปีการศึกษา 2558 - 2559
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 3) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 การทดลองการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขั้นตอนที่ 4 การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 41 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วย 1)แบบสอบถาม 2)กล่องไม้พอเพียง 2) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 13 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 40 ข้อ มีค่าความยาก .38 - .94 ค่าอำนาจจำแนก .30 - .67 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .91 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนก .16 - .68 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบ t-test แบบ dependent samples


ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลจากการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนวิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยรวมปฏิบัติอยู่ในระดับดี ปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เป็นปัญหาของครู โดยภาพรวม มีปัญหามาก ได้แก่ ครูขาดนวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ ครูขาดการพัฒนาเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใหม่ๆ ปัญหาที่เกิดจากนักเรียน โดยภาพรวมมีปัญหาในระดับมาก ได้แก่ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ต่ำ และความต้องการของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือครูต้องการพัฒนานวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัย ต้องการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในหัวข้อใหม่ๆ อย่างหลากหลาย โดยเน้นให้สามารถนำไปใช้ได้จริง และต้องการสื่อ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นรูปธรรม เหมาะสมและเพียงพอ ปัญหาในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ได้แก่ ครูสอนจริงจัง ไม่ใช้สื่อในการสอน ทำให้เครียด ครูเข้มงวดทำให้บรรยากาศในการเรียนเครียด ไม่อยากเรียน นักเรียนได้เสนอความต้องการที่จะเรียนวิชาคณิตศาสตร์อย่างมีความสุข โดยให้ครูจัดหาสื่อการสอนที่หลากหลาย
2. ประสิทธิภาพของการพัฒนาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.70/81.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 75/75
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า หลังเรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
4. ความพึงพอใจของนักเรียนหลังเรียนด้วยการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้กล่องไม้พอเพียง วิชาเสริมทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 336 คน กำลังออนไลน์