• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:158559b0542812f9a20b5b61dbe75113' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>การวิจัยเรื่องการสร้างและพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development)</p>\n<p>มีวัตถุประสงค์คือ<br />1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4<br />2) เพื่อพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคม&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4&nbsp; ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80<br />3)&nbsp; เพื่อทดลองใช้&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4<br />4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 1 คน ครูผู้สอนวิชาหน้าที่พลเมือง และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานวิจัยและ&nbsp;&nbsp;&nbsp; การจัดทำนวัตกรรมทางการศึกษา จำนวน 9 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนเทศบาลวัดคลองโพธิ์ ที่กำลังศึกษาภาคเรียนที่ 2&nbsp; ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 30&nbsp; คน</p>\n<p>เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย <br />1) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นด้านเนื้อหาในการพัฒนาชุดการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียน ครูและผู้เชี่ยวชาญ&nbsp; แบบสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับความต้องการในการพัฒนาชุดการเรียนรู้<br />2) เครื่องมือในการประเมินผลชุดการเรียนรู้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ (%) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)</p>\n<p>ผลการศึกษาพบว่า</p>\n<ol>\n<li>ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ความคิดเห็นด้านเนื้อหาสาระที่เหมาะสมเกี่ยวกับการพัฒนาชุดการเรียนรู้ โดยภาพรวม พบว่า ควรเป็นเนื้อหาตามหลักวิชาการที่มีมีประโยชน์ต่อผู้เรียน และครูผู้สอน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยเน้นเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับชั้น สำนวนภาษาที่ใช้เขียนควรเป็นลักษณะที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย&nbsp; สื่อความหมายโดยตรงแก่ผู้อ่านโดยไม่ต้องตีความ และเขียนเนื้อหาให้ละเอียดครอบคลุมจุดประสงค์ที่กำหนดใน&nbsp;&nbsp;&nbsp; แต่ละเรื่อง ด้านรูปเล่ม ควรให้ใช้ภาพการ์ตูนสวยงามประกอบให้น่าอ่าน มีความแข็งแรงคงทน และสะดวกแก่การนำไปใช้ ด้านการนำไปใช้ควรใช้เป็นสื่อประกอบตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;การวัดผลและประเมินผล ควรมีทั้งแบบทดสอบ และแบบสังเกตพฤติกรรม เนื้อหาควรสืบค้นข้อมูลทางวิชาการให้ครบถ้วน มีแหล่งอ้างอิงเพื่อให้นักเรียนสามารถไปสืบค้นเพิ่มเติมได้ ควรจัดการเรียนรู้ทั้งในเวลาเรียนปกติ และให้นักเรียนศึกษานอกเวลาเรียน ด้านความคิดเห็นของนักเรียน พบว่า นักเรียนทุกคนรู้จักและเคยได้ยินคำว่า “สังคม ก้มหน้า” มาบ้างแล้ว ส่วนใหญ่ยังไม่เคยศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติม ต้องการเรียนรู้สาระการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองเพื่อนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน ต้องการเรียนรู้เนื้อหาที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงโดยต้องการเรียนรู้อย่างละเอียด&nbsp; ควรจัดการเรียนรู้แบบกลุ่ม และต้องการวัดผลโดยใช้แบบทดสอบ การตอบคำถามปากเปล่า และสังเกตการปฏิบัติกิจกรรม</li>\n<li>ผลการพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า โครงร่างของชุดการเรียนรู้เป็นลักษณะการจัดทำชุดการเรียนรู้โดยยึดหลักเนื้อหาถูกต้องตามหลักวิชาการ คือ เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์ เนื้อหาถูกต้อง เนื้อหายากง่ายพอเหมาะ เนื้อหาสั้นยาวพอเหมาะ และเนื้อหา ประกอบด้วยตัวอย่างที่เหมาะสม ด้านรูปเล่มแยกเนื้อหาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ออกเป็น 12 เล่ม&nbsp; ซึ่งผลการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า มีความเหมาะสมในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x-bar = 4.55 / S.D.=0.32) และเมื่อนำชุดการเรียนรู้ไปหาประสิทธิภาพรายบุคคล แบบกลุ่มเล็ก และแบบภาคสนามได้ประสิทธิภาพ (E<sub>1</sub>/E<sub>2</sub>) เท่ากับ 61.11/62.50 , 70.37/71.94 และ 84.50/82.67 ตามลำดับ</li>\n<li>ผลการทดลองใช้ชุดการเรียนรู้ พบว่า ชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” มีประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E<sub>1</sub>/E<sub>2</sub>) เท่ากับ 85.41/85.83 สรุปได้ว่า &nbsp;&nbsp;ชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด</li>\n</ol>\n<p>การประเมินผลและปรับปรุงชุดการเรียนรู้ หลังจากนำชุดการเรียนรู้ชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ไปทดลองใช้ และได้ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน พบว่า นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจอยู่ในเกณฑ์ดีมากร้อยละ73.33&nbsp; อยู่ในเกณฑ์ดีร้อยละ 26.67 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับประเด็นคำถามที่ถามในเชิงบวก</p>\n', created = 1728219378, expire = 1728305778, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:158559b0542812f9a20b5b61dbe75113' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การสร้างและพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

การวิจัยเรื่องการสร้างและพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development)

มีวัตถุประสงค์คือ
1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2) เพื่อพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคม      ก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
3)  เพื่อทดลองใช้     ชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 1 คน ครูผู้สอนวิชาหน้าที่พลเมือง และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานวิจัยและ    การจัดทำนวัตกรรมทางการศึกษา จำนวน 9 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนเทศบาลวัดคลองโพธิ์ ที่กำลังศึกษาภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 30  คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
1) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นด้านเนื้อหาในการพัฒนาชุดการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียน ครูและผู้เชี่ยวชาญ  แบบสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับความต้องการในการพัฒนาชุดการเรียนรู้
2) เครื่องมือในการประเมินผลชุดการเรียนรู้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ (%) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)

ผลการศึกษาพบว่า

  1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ความคิดเห็นด้านเนื้อหาสาระที่เหมาะสมเกี่ยวกับการพัฒนาชุดการเรียนรู้ โดยภาพรวม พบว่า ควรเป็นเนื้อหาตามหลักวิชาการที่มีมีประโยชน์ต่อผู้เรียน และครูผู้สอน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยเน้นเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับชั้น สำนวนภาษาที่ใช้เขียนควรเป็นลักษณะที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย  สื่อความหมายโดยตรงแก่ผู้อ่านโดยไม่ต้องตีความ และเขียนเนื้อหาให้ละเอียดครอบคลุมจุดประสงค์ที่กำหนดใน    แต่ละเรื่อง ด้านรูปเล่ม ควรให้ใช้ภาพการ์ตูนสวยงามประกอบให้น่าอ่าน มีความแข็งแรงคงทน และสะดวกแก่การนำไปใช้ ด้านการนำไปใช้ควรใช้เป็นสื่อประกอบตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้        การวัดผลและประเมินผล ควรมีทั้งแบบทดสอบ และแบบสังเกตพฤติกรรม เนื้อหาควรสืบค้นข้อมูลทางวิชาการให้ครบถ้วน มีแหล่งอ้างอิงเพื่อให้นักเรียนสามารถไปสืบค้นเพิ่มเติมได้ ควรจัดการเรียนรู้ทั้งในเวลาเรียนปกติ และให้นักเรียนศึกษานอกเวลาเรียน ด้านความคิดเห็นของนักเรียน พบว่า นักเรียนทุกคนรู้จักและเคยได้ยินคำว่า “สังคม ก้มหน้า” มาบ้างแล้ว ส่วนใหญ่ยังไม่เคยศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติม ต้องการเรียนรู้สาระการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองเพื่อนำไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน ต้องการเรียนรู้เนื้อหาที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงโดยต้องการเรียนรู้อย่างละเอียด  ควรจัดการเรียนรู้แบบกลุ่ม และต้องการวัดผลโดยใช้แบบทดสอบ การตอบคำถามปากเปล่า และสังเกตการปฏิบัติกิจกรรม
  2. ผลการพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า โครงร่างของชุดการเรียนรู้เป็นลักษณะการจัดทำชุดการเรียนรู้โดยยึดหลักเนื้อหาถูกต้องตามหลักวิชาการ คือ เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์ เนื้อหาถูกต้อง เนื้อหายากง่ายพอเหมาะ เนื้อหาสั้นยาวพอเหมาะ และเนื้อหา ประกอบด้วยตัวอย่างที่เหมาะสม ด้านรูปเล่มแยกเนื้อหาชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ออกเป็น 12 เล่ม  ซึ่งผลการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า มีความเหมาะสมในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x-bar = 4.55 / S.D.=0.32) และเมื่อนำชุดการเรียนรู้ไปหาประสิทธิภาพรายบุคคล แบบกลุ่มเล็ก และแบบภาคสนามได้ประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 61.11/62.50 , 70.37/71.94 และ 84.50/82.67 ตามลำดับ
  3. ผลการทดลองใช้ชุดการเรียนรู้ พบว่า ชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” มีประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E1/E2) เท่ากับ 85.41/85.83 สรุปได้ว่า   ชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด

การประเมินผลและปรับปรุงชุดการเรียนรู้ หลังจากนำชุดการเรียนรู้ชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ไปทดลองใช้ และได้ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน พบว่า นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจอยู่ในเกณฑ์ดีมากร้อยละ73.33  อยู่ในเกณฑ์ดีร้อยละ 26.67 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนรู้ เรื่อง “สังคมก้มหน้า” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับประเด็นคำถามที่ถามในเชิงบวก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 455 คน กำลังออนไลน์