• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b85cd05c1646904b78d65f5bee82e4c3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ชื่อเรื่อง&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยใช้วิธีสอนแบบ โครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย &nbsp;</p>\n<p>ชื่อผู้ศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จงจิตร&nbsp;&nbsp; วิเชียรรัตน์</p>\n<p>ตำแหน่ง&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ครู โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์&nbsp; เทศบาลนครนครศรีธรรมราช</p>\n<p>ปีการศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2557</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย โดยการวิจัยและพัฒนามี 4 ขั้นตอนที่ 1&nbsp; ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนิยาม ความสามารถ พฤติกรรมบ่งชี้และแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย&nbsp; ขั้นตอนที่ 2&nbsp; พัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดโครงสร้างรูปแบบการจัดประสบการณ์ และเครื่องมือประกอบการใช้จากเอกสารละงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทำการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการจัดประสบการณ์ โดยผู้เชี่ยวชาญ&nbsp; จากนั้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน ก่อนนำไปทดสอบความเหมาะสม&nbsp; และความเป็นไปได้&nbsp; ขั้นตอนที่ 3&nbsp; ทดลองใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างเป็นครูปฐมวัย จำนวน 6&nbsp; คน และเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 90 คน ของโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์&nbsp; เทศบาลนครนครศรีธรรมราช&nbsp; ระยะเวลาในการจัดประสบการณ์&nbsp; 12 สัปดาห์ และขั้นตอนที่ 4&nbsp; การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ด้วยค่าร้อยละ&nbsp; ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา&nbsp; เครื่องมือการวิจัย&nbsp; ประกอบด้วยเครื่องมือการจัดประสบการณ์ คือ รูปรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่แบบทดสอบความสามารถ&nbsp; แบบสังเกตพฤติกรรม&nbsp; และแบบแสดงผลงานความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p>\n<p>1)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่าง</p>\n<p>สร้างสรรค์&nbsp; หลังการจัดประสบการณ์สูงกว่าก่อนจัดประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสติถิที่ระดับ &nbsp;.05</p>\n<p>2)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่าง</p>\n<p>สร้างสรรค์&nbsp; โดยใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงานสำหรับเด็กปฐมวัยมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ หลังการจัดประสบการณ์สูงกว่าเด็กปฐมวัยที่ไม่ได้รับการจัดประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05</p>\n<p>3)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่าง</p>\n<p>สร้างสรรค์ โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4 ระยะ คือ ก่อนการจัดประสบการณ์&nbsp; หลังการจัดประสบการณ์ครั้งที่1 หลังการจัดประสบการณ์ครั้งที่ 2 และติดตามผลการจัดประสบการณ์ มีพัฒนาการสูงขึ้นอย่างเป็นลำดับ และมีความคงทนของพฤติกรรมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยในระยะติดตามผลการจัดประสบการณ์ และพบว่า เด็กปฐมวัยเกิดจินตนาการ การคิดสร้างสรรค์ การคิดหาเหตุผลในการนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์&nbsp; ตามระดับพัฒนาการใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์</p>\n<p>4)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ครูปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการจัดประสบการณ์อยู่ในระดับดีมาก มี</p>\n<p>ความสามารถในการเขียนแผน การจัดประสบการณ์ และมีความสามารถในการจัดประสบการณ์ของครูปฐมวัยตามรูปแบบการจัดประสบการณ์ อยู่ในระดับมาก&nbsp; และมีความคิดเห็นของครูปฐมวัยที่มีต่อรูปแบบการจัดประสบการณ์ มีความเหมาะสม และอยู่ในระดับมาก เนื่องจากเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่แสดงแนวคิด กระบวนการจัดประสบการณ์สื่อปละการจัดสภาพแวดล้อม และการประเมินที่ชัดเจน และสามารถปฏิบัติได้ตามสภาพจริง</p>\n', created = 1720462177, expire = 1720548577, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b85cd05c1646904b78d65f5bee82e4c3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยใช้วิธีสอนแบบ โครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย

ชื่อเรื่อง                  การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยใช้วิธีสอนแบบ โครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย  

ชื่อผู้ศึกษา             จงจิตร   วิเชียรรัตน์

ตำแหน่ง                ครู โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์  เทศบาลนครนครศรีธรรมราช

ปีการศึกษา            2557

 

บทคัดย่อ

                การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย โดยการวิจัยและพัฒนามี 4 ขั้นตอนที่ 1  ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนิยาม ความสามารถ พฤติกรรมบ่งชี้และแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย  ขั้นตอนที่ 2  พัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดโครงสร้างรูปแบบการจัดประสบการณ์ และเครื่องมือประกอบการใช้จากเอกสารละงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทำการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการจัดประสบการณ์ โดยผู้เชี่ยวชาญ  จากนั้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน ก่อนนำไปทดสอบความเหมาะสม  และความเป็นไปได้  ขั้นตอนที่ 3  ทดลองใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างเป็นครูปฐมวัย จำนวน 6  คน และเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 90 คน ของโรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์  เทศบาลนครนครศรีธรรมราช  ระยะเวลาในการจัดประสบการณ์  12 สัปดาห์ และขั้นตอนที่ 4  การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ด้วยค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา  เครื่องมือการวิจัย  ประกอบด้วยเครื่องมือการจัดประสบการณ์ คือ รูปรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่แบบทดสอบความสามารถ  แบบสังเกตพฤติกรรม  และแบบแสดงผลงานความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย

                ผลการวิจัยพบว่า

1)            เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่าง

สร้างสรรค์  หลังการจัดประสบการณ์สูงกว่าก่อนจัดประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสติถิที่ระดับ  .05

2)            เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่าง

สร้างสรรค์  โดยใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงานสำหรับเด็กปฐมวัยมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ หลังการจัดประสบการณ์สูงกว่าเด็กปฐมวัยที่ไม่ได้รับการจัดประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05

3)            เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบการจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาอย่าง

สร้างสรรค์ โดยการใช้รูปแบบการสอนแบบโครงงาน สำหรับเด็กปฐมวัย มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4 ระยะ คือ ก่อนการจัดประสบการณ์  หลังการจัดประสบการณ์ครั้งที่1 หลังการจัดประสบการณ์ครั้งที่ 2 และติดตามผลการจัดประสบการณ์ มีพัฒนาการสูงขึ้นอย่างเป็นลำดับ และมีความคงทนของพฤติกรรมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยในระยะติดตามผลการจัดประสบการณ์ และพบว่า เด็กปฐมวัยเกิดจินตนาการ การคิดสร้างสรรค์ การคิดหาเหตุผลในการนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์  ตามระดับพัฒนาการใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

4)            ครูปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการจัดประสบการณ์อยู่ในระดับดีมาก มี

ความสามารถในการเขียนแผน การจัดประสบการณ์ และมีความสามารถในการจัดประสบการณ์ของครูปฐมวัยตามรูปแบบการจัดประสบการณ์ อยู่ในระดับมาก  และมีความคิดเห็นของครูปฐมวัยที่มีต่อรูปแบบการจัดประสบการณ์ มีความเหมาะสม และอยู่ในระดับมาก เนื่องจากเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่แสดงแนวคิด กระบวนการจัดประสบการณ์สื่อปละการจัดสภาพแวดล้อม และการประเมินที่ชัดเจน และสามารถปฏิบัติได้ตามสภาพจริง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 408 คน กำลังออนไลน์