• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.218.206.89', 0, 'f390fccc77514419531ab3e33ada7fe0', 157, 1716082276) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:85859c7c224468d8f972d2ab7931b3de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><DIV class=WordSection1><br />\n<P align=center><STRONG>การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3</strong></p><br />\n<P align=center><STRONG>โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P align=left><STRONG>ประมวล&nbsp; นาสมรูป</strong><STRONG><SUP>1</sup></strong></p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<H1 align=center>บทคัดย่อ</h1><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3&nbsp; โรงเรียน</p><br />\n<P>เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี&nbsp; มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา ดังนี้ 1)&nbsp; เพื่อพัฒนาการเขียน</p><br />\n<P>เชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี</p><br />\n<P>2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ &nbsp;ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนที่เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า&nbsp; กบินทร์บุรี&nbsp; ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558&nbsp; จำนวน 201&nbsp; คน&nbsp; และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้&nbsp; ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3</p><br />\n<P>ห้อง 3/4&nbsp; โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี&nbsp; ภาคเรียนที่&nbsp; 1&nbsp; ปีการศึกษา&nbsp; 2558&nbsp;&nbsp; จำนวน&nbsp;</p><br />\n<P>41&nbsp; คน&nbsp; &nbsp;เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้&nbsp; มี&nbsp; 3&nbsp; ชนิด&nbsp; ได้แก่&nbsp; 1) คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์&nbsp; ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; จำนวน&nbsp; 8&nbsp; แผน&nbsp; 9&nbsp; ชั่วโมง&nbsp;&nbsp; 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน&nbsp; 3)&nbsp; แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน&nbsp; สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล&nbsp; ได้แก่&nbsp; ร้อยละ ค่าเฉลี่ย</p><br />\n<P>และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษา&nbsp; ปรากฏดังนี้</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.&nbsp; ผลการประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน</p><br />\n<P>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; โดยผู้เชี่ยวชาญ&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนโดยรวมในระดับมากที่สุด&nbsp; ค่าเฉลี่ย ()&nbsp; เท่ากับ 4.67</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.&nbsp; ผลการวิเคราะห์&nbsp; คะแนนเฉลี่ยจากการตรวจใบงานหรือชิ้นงาน&nbsp; การสังเกตพฤติกรรม</p><br />\n<P>การเรียนรู้นักเรียน&nbsp; และการประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม&nbsp; (ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E<SUB>1</sub>))</p><br />\n<P>ของนักเรียน ทั้ง&nbsp; 8&nbsp; แผน&nbsp; นักเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยรวม 17.68&nbsp; คิดเป็นร้อยละ&nbsp; 88.40&nbsp; ประสิทธิภาพ</p><br />\n<P>ของกระบวนการ&nbsp; (E ) เท่ากับ&nbsp; 88.40</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.&nbsp; ผลการวิเคราะห์ คะแนนเฉลี่ย&nbsp; และร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน(ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E<SUB>2</sub>))&nbsp; คะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน&nbsp; คะแนนเต็ม&nbsp; 20&nbsp; คะแนน&nbsp; ได้ค่าเฉลี่ย 17.05 &nbsp;คิดเป็นร้อยละ 85.25 &nbsp;แสดงว่า&nbsp; ประสิทธิภาพของผลลัพธ์&nbsp;&nbsp; (E<SUB>2</sub>)&nbsp; เท่ากับ&nbsp; 85.25 &nbsp;นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน</p><br />\n<P>สูงกว่าก่อนเรียน</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.&nbsp; สรุปประสิทธิภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3&nbsp; &nbsp;</p><br />\n<P>สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้&nbsp; คือ 80/80&nbsp; &nbsp;ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่า คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; มีประสิทธิภาพ&nbsp; (E / E )&nbsp; เท่ากับ&nbsp; 88.40/85.25&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5.&nbsp; ผลการวิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผลของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน</p><br />\n<P>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์</p><br />\n<P>ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; มีค่าเท่ากับ 0.72183&nbsp;&nbsp; แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน หรือคิดเป็น</p><br />\n<P>ร้อยละ&nbsp; 72. 18</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.&nbsp; ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของ</p><br />\n<P>การเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; &nbsp;นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; มีความพึงพอใจ</p><br />\n<P>ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด&nbsp; (=&nbsp; 4.62)&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P><STRONG>คำสำคัญ </strong><STRONG>:</strong>&nbsp; &nbsp;<STRONG>การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3</strong><STRONG>&nbsp; </strong></p><br />\n<P>________________________________________________________________</p><br />\n<P>1&nbsp; ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ &nbsp;&nbsp;โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี&nbsp; &nbsp;องค์การบริหารส่วนจังหวัด</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปราจีนบุรี</p><br />\n<P>&nbsp;</p></div><br />\n</p><P>&nbsp;</p><br />\n<H4 align=center><STRONG>บทนำ</strong></h4><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปัจจุบันการติดต่อสื่อสารมีหลายรูปแบบ&nbsp; และวิธีการเขียนสื่อความเป็นการสื่อสารวิธีหนึ่งที่มนุษย์เราใช้มากที่สุด&nbsp; การเขียนเป็นทักษะสำคัญใน&nbsp; 4&nbsp; ทักษะของการใช้ภาษา&nbsp; คือ การฟัง&nbsp; การพูด&nbsp; การอ่านและการเขียน&nbsp; การเขียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ&nbsp; ถ่ายทอดความรู้&nbsp; สติปัญญาของมนุษย์&nbsp; อีกทั้งสื่อสารถึงความรู้สึกที่อยู่ในใจออกมาให้ผู้อื่นได้รับรู้&nbsp; นอกจากนี้วิธีการใช้สัญลักษณ์ตัวอักษร ยังแสดงออกได้ถึงกระบวนการทางความคิดอีกด้วย&nbsp; (กรมวิชาการ. 2548&nbsp; : 27-28 อ้างถึงในสุวัฒน์&nbsp; วิวัฒนานนท์. 2550 : 67)&nbsp; ดังนั้นการเขียนจึงเป็นวิธีการสื่อสารอย่างหนึ่งของมนุษย์&nbsp; ที่แสดงออกทางภาษาเป็นลายลักษณ์อักษร&nbsp;</p><br />\n<P>เพื่อแสดงความรู้&nbsp; ความคิด&nbsp; ความสามารถและประสบการณ์ต่าง ๆ&nbsp; ของตนเองให้คนอื่นได้รับรู้&nbsp; สอดคล้องกับ อัจฉรา&nbsp; ชีวพันธ์ ( 2550&nbsp; :&nbsp; 1-4)&nbsp; ที่กล่าวไว้ว่า&nbsp; การเขียนเป็นสิ่งสำคัญต่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน&nbsp;</p><br />\n<P>เน้นทักษะการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด&nbsp; และประสบการณ์ต่าง ๆ ของผู้เขียน&nbsp; เพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเกิดความเข้าใจได้ตรงตามที่ผู้เขียนต้องการ&nbsp; โดยการนำถ้อยคำ&nbsp; มาเรียงลำดับความคิดให้ต่อเนื่องกัน&nbsp; เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงพฤติกรรมการสร้างสรรค์ของผู้เขียน&nbsp; ดังนั้นการเขียนจึงเป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็นสำหรับทุกคน&nbsp; โดยเฉพาะการเขียนเชิงสร้างสรรค์</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การเขียนเชิงสร้างสรรค์&nbsp; เป็นการเขียนซึ่งมีลักษณะของการคิดริเริ่ม&nbsp; โดยที่ผู้เขียนต้องใช้จินตนาการ</p><br />\n<P>และประสบการณ์ของตนเชื่อมโยงความคิดในการเขียน (อัจฉรา&nbsp; ชีวพันธ์. 2550&nbsp; :&nbsp; 3)&nbsp; การเขียน</p><br />\n<P>เชิงสร้างสรรค์&nbsp; นอกจากจะสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจแล้ว&nbsp; ต้องแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์&nbsp; ที่เกิดจากจินตนาการของผู้เขียนเอง&nbsp; หรือความคิดคำนึงของตน &nbsp;เขียนออกมาด้วยความสละสลวยประทับใจผู้อ่าน&nbsp; ผู้ฟัง&nbsp; และให้ความรู้สึกเพลิดเพลินใจและประดับสติปัญญาไปในตัว&nbsp; นอกจากนี้การเขียนเชิงสร้างสรรค์ต้องเป็นการเขียน</p><br />\n<P>ที่มิได้ลอกเลียนแบบผู้อื่น&nbsp; มีอิสระที่จะคิดรูปแบบใหม่แตกต่างไปจากแนวคิดเดิมที่มีอยู่&nbsp; มีความน่าสนใจ&nbsp;</p><br />\n<P>เป็นผลงานที่มีคุณค่าทางความคิดริเริ่มอย่างเด่นชัด (กรมวิชาการ. 2540&nbsp; :&nbsp; 25)&nbsp; ซึ่งสอดคล้องกับ&nbsp;</p><br />\n<P>ฐะปะนีย์&nbsp; นาครทรรพ (2538&nbsp; :&nbsp; 340) ที่กล่าวว่าการเขียนเชิงสร้างสรรค์&nbsp; เป็นการพัฒนาศักยภาพทางด้านการใช้ภาษาเพื่อถ่ายทอดความคิดในทางสร้างสรรค์ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม&nbsp; ช่วยให้ผู้เขียนได้ระบายอารมณ์ตามธรรมชาติที่มีอยู่ในตัว&nbsp; ทำให้เกิดความเพลิดเพลิน&nbsp; ชื่นชมในศิลปะ&nbsp; ซาบซึ้งในภาษาเพื่อการแสดงออกด้านต่าง ๆ&nbsp; รวมถึงการปรับตัวทางอารมณ์และสังคมได้อย่างดี</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ผลการสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า&nbsp; กบินทร์บุรี<STRONG>&nbsp;&nbsp; </strong>วิชาภาษาไทย&nbsp; ปีการศึกษา&nbsp; 2556 และ 2557</p><br />\n<P>(โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี&nbsp; 2557 &nbsp;:&nbsp; 9)&nbsp; ผลปรากฏ&nbsp; ดังนี้&nbsp; ปีการศึกษา&nbsp; 2556&nbsp; คะแนนเฉลี่ยรวมวิชาภาษาไทยระดับโรงเรียนเท่ากับ&nbsp; 43.89&nbsp; ซึ่งต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ&nbsp; 44.25&nbsp; ถ้าวิเคราะห์ในสาระการเรียนรู้การเขียนในระดับโรงเรียนคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 46.19&nbsp;&nbsp; ซึ่งต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ&nbsp; 47.43&nbsp; และในปีการศึกษา&nbsp; 2557&nbsp;&nbsp; คะแนนเฉลี่ยรวมวิชาภาษาไทยระดับโรงเรียนเท่ากับ&nbsp; 35.08&nbsp; ซึ่งต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ&nbsp; 35.20&nbsp; ถ้าวิเคราะห์ในสาระการเรียนรู้</p><br />\n<P>การเขียนในระดับโรงเรียนคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 34.62&nbsp;&nbsp; ซึ่งต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย</p><br />\n<P>เท่ากับ&nbsp; 34.77 &nbsp;&nbsp;และสถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติมีข้อเสนอแนะให้โรงเรียนเร่งพัฒนาสาระการเรียนรู้</p><br />\n<P>การเขียนสำหรับนักเรียนในโรงเรียนทั้ง&nbsp; 2&nbsp; ปีการศึกษา&nbsp; ซึ่งสอดคล้องกับรายงานผลการจัดการศึกษา</p><br />\n<P>วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 &nbsp;ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า&nbsp; กบินทร์บุรี&nbsp;</p><br />\n<P>ในปีการศึกษา&nbsp; 2556 และ 2557&nbsp; นักเรียนส่วนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการเขียนในระดับ</p><br />\n<P>ที่ต้องปรับปรุง&nbsp; โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเขียนเชิงสร้างสรรค์ และจากการประเมินผลการเรียนก่อนเรียนนักเรียน</p><br />\n<P>ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ &nbsp;3 <STRONG>&nbsp;</strong>ปีการศึกษา&nbsp; 2558&nbsp; พบว่า&nbsp; นักเรียนส่วนมากมีปัญหาในเรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์เช่นกัน&nbsp; ผู้รายงานในฐานะที่เป็นครูประจำชั้นจึงเห็นความสำคัญและจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาการเรียนรู้การเขียนเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรีขึ้น</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P><STRONG>วัตถุประสงค์ของการศึกษา</strong></p><br />\n<P>1. เพื่อพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา</p><br />\n<P>น้อมเกล้า กบินทร์บุรี ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P><STRONG>ขอบเขตของการศึกษา</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนที่เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า&nbsp; กบินทร์บุรี&nbsp; ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558&nbsp; จำนวน 201&nbsp; คน</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.2&nbsp; กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนที่เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;</p><br />\n<P>ห้อง 3/4&nbsp; โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า&nbsp; กบินทร์บุรี&nbsp; ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558&nbsp;</p><br />\n<P>จำนวน&nbsp; 41 คน&nbsp; ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.&nbsp; ระยะเวลาในการศึกษา</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ภาคเรียนที่ &nbsp;1 &nbsp;&nbsp;ปีการศึกษา&nbsp; 2558</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.&nbsp; เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา&nbsp; คือ&nbsp; เนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์&nbsp; ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; ตามหลักสูตรโรงเรียน</p><br />\n<P>เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า&nbsp; กบินทร์บุรี</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P><STRONG>เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา</strong><STRONG>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong></p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.&nbsp; คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย</p><br />\n<P>หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; &nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.&nbsp; แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน&nbsp; กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย &nbsp;หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; ชนิดเลือกตอบแบบปรนัย&nbsp;</p><br />\n<P>ชนิด&nbsp; 4&nbsp; ตัวเลือก&nbsp; จำนวน&nbsp; 20&nbsp; ข้อ</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.&nbsp; แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ตามคู่มือแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; &nbsp;โดยใช้แบบประเมินคุณภาพชนิดมาตราส่วนประมาณค่า&nbsp;</p><br />\n<P>(Rating Scale)&nbsp;&nbsp; 5&nbsp; ระดับ&nbsp; จำนวน&nbsp; 20&nbsp; ข้อ</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P><STRONG>ผลการวิจัย</strong></p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.&nbsp; ผลการประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระ</p><br />\n<P>การเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; &nbsp;โดยผู้เชี่ยวชาญ&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนโดยรวมในระดับมากที่สุด&nbsp; ค่าเฉลี่ย ()&nbsp; เท่ากับ 4.67&nbsp; ถ้าแยกเป็นตอน&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ &nbsp;6 &nbsp;ตอนที่&nbsp; 2 เนื้อหาของคู่มือการใช้แผน&nbsp; โดยรวมในระดับมากที่สุด&nbsp; ค่าเฉลี่ย ()&nbsp; เท่ากับ 4.67และผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ &nbsp;6 &nbsp;ตอนที่&nbsp; 1&nbsp; คุณภาพของคู่มือการใช้แผน โดยรวมในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ()&nbsp; เท่ากับ 4.64&nbsp; ถ้าพิจารณา เป็นรายข้อ&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสมของเอกสารในระดับมากและมากที่สุดทุกข้อ&nbsp; มีค่าเฉลี่ย ()&nbsp; ระหว่าง&nbsp; 4.43 – 4.86</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.&nbsp; ผลการวิเคราะห์&nbsp; คะแนนเฉลี่ยจากการตรวจใบงานหรือชิ้นงาน&nbsp; การสังเกตพฤติกรรม</p><br />\n<P>การเรียนรู้นักเรียน&nbsp; และการประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม&nbsp; (ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E<SUB>1</sub>))</p><br />\n<P>นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากการ<STRONG>ประเมินการ</strong>ปฏิบัติตามใบงาน&nbsp; การประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม</p><br />\n<P>และการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอนกลุ่มสาระ</p><br />\n<P>การเรียนรู้&nbsp;&nbsp;&nbsp; ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์&nbsp;</p><br />\n<P>ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; ทั้ง&nbsp; 8&nbsp; แผน&nbsp; ได้คะแนนเฉลี่ยรวม 17.68&nbsp; คิดเป็นร้อยละ 88.40&nbsp; ประสิทธิภาพ</p><br />\n<P>ของกระบวนการ&nbsp; (E ) เท่ากับ&nbsp; 88.40</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.&nbsp; ผลการวิเคราะห์ คะแนนเฉลี่ย&nbsp; และร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน(ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E<SUB>2</sub>))&nbsp; คะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์</p><br />\n<P>ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน&nbsp; คะแนนเต็ม&nbsp; 20&nbsp; คะแนน&nbsp; ได้ค่าเฉลี่ย&nbsp; 17.05 &nbsp;คิดเป็นร้อยละ&nbsp; 85.25 &nbsp;แสดงว่า&nbsp; ประสิทธิภาพของผลลัพธ์&nbsp;&nbsp; (E<SUB>2</sub>)&nbsp; เท่ากับ&nbsp; 85.25 &nbsp;นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน</p><br />\n<P>สูงกว่าก่อนเรียน</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.&nbsp; สรุปประสิทธิภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;</p><br />\n<P>สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ&nbsp; 80/80&nbsp; ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่า คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบ</p><br />\n<P>การสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; มีประสิทธิภาพ&nbsp; (E / E )&nbsp; เท่ากับ&nbsp; 88.40/85.25</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5.&nbsp; ผลการวิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผลของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน</p><br />\n<P>กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์</p><br />\n<P>ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; ดัชนีประสิทธิผลของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบ การสอนกลุ่มสาระ</p><br />\n<P>การเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์&nbsp; ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; มีค่าเท่ากับ 0.72183&nbsp;&nbsp; แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน หรือคิดเป็นร้อยละ&nbsp; 72.18</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.&nbsp; ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือ</p><br />\n<P>การใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; &nbsp;&nbsp;ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3&nbsp; ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระ</p><br />\n<P>การเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน&nbsp; เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์&nbsp;&nbsp; โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด&nbsp; (=&nbsp; 4.62)&nbsp; ถ้าพิจารณาเป็นรายด้านนักเรียนมีความพึงพอใจมากเป็นอันดับ 1&nbsp; คือด้าน</p><br />\n<P>การใช้สื่ออุปกรณ์&nbsp; นักเรียนมีความพึงพอใจระดับมากที่สุด ( &nbsp;=&nbsp; 4.71)&nbsp; อันดับที่ &nbsp;2 คือด้านกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนมีความพึงพอใจระดับมากที่สุด ( &nbsp;=&nbsp; 4.61)&nbsp;&nbsp; อันดับที่ 3 &nbsp;คือ นักเรียนด้านเนื้อหา</p><br />\n<P>เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ นักเรียนมีความพึงพอใจระดับมากที่สุดทุกข้อ</p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P><STRONG>ข้อเสนอแนะ</strong></p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.&nbsp; ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.1&nbsp; ครูผู้สอนภาษาไทยมีบทบาทสำคัญ&nbsp; เพราะจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยให้นักเรียนเกิดทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ต้องมีเทคนิคการสอน&nbsp; ขณะปฏิบัติกิจกรรม</p><br />\n<P>ต้องพยายามตั้งคำถามให้กับนักเรียนมาก ๆ เพื่อช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดอย่างหลากหลาย&nbsp; และให้คำปรึกษาแนะนำช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.2&nbsp; การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์&nbsp; เป็นการจัดกิจกรรมที่เน้น</p><br />\n<P>นักเรียนเป็นสำคัญ&nbsp; ปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา&nbsp; ค้นคว้า วิเคราะห์&nbsp; สังเคราะห์&nbsp; ปฏิบัติ&nbsp;</p><br />\n<P>ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนและกิจกรรมที่ต้องฝึกให้เกิดทักษะ นักเรียนอาจใช้เวลาปฏิบัติกิจกรรมนานกว่า</p><br />\n<P>ที่กำหนด&nbsp; ครูผู้สอนอาจยืดหยุ่นเวลาได้&nbsp; หรือมอบหมายให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าหลังเวลาเรียนเพิ่มเติม</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.3&nbsp; ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เช่น&nbsp; ผู้บริหาร&nbsp; ฝ่ายวิชาการ&nbsp; หน่วยศึกษานิเทศก์&nbsp; ควรนำเอกสารคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6&nbsp; ประเภทของการเขียน เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่&nbsp; 3 &nbsp;ไปเผยแพร่&nbsp; ให้ครูผู้สอนนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน&nbsp; เพราะเป็นกระบวนการที่สามารถจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย&nbsp; ได้อย่างมีประสิทธิภาพ</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.&nbsp; ข้อเสนอแนะในการศึกษาต่อไป</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.1&nbsp; ควรมีการพัฒนาคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในหน่วยการเรียนรู้อื่น&nbsp; หรือสาระการเรียนรู้อื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.2&nbsp; ควรทำพัฒนาคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้นอื่น ๆ&nbsp; ด้วย</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กิตติกรรมประกาศ</p><br />\n<P align=center>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รายงานการศึกษาเล่มนี้สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือและได้รับแนะนำอย่างดียิ่งจาก</p><br />\n<P>ผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน ดังนี้</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. &nbsp;นายคมสรร&nbsp; รสดี&nbsp;&nbsp; ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี</p><br />\n<P>องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.&nbsp; นายเชาวฤทธิ์ &nbsp;โคละทัต ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี&nbsp; องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษาและด้านหลักสูตรและการสอน</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.&nbsp; นางวิไลวรรณ&nbsp; นวลเลิศ &nbsp;ครู วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ&nbsp; โรงเรียนเขาฉกรรจ์วิทยาคม&nbsp;&nbsp;</p><br />\n<P>องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.&nbsp; นางบุษวรรณ&nbsp; เชื้อชะเอม&nbsp; ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ&nbsp; โรงเรียนเขาฉกรรจ์วิทยาคม&nbsp;&nbsp; องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5.&nbsp; นางวรัญญา&nbsp; พงษ์ประเสริฐ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ&nbsp; โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ&nbsp; องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี&nbsp;&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.&nbsp; นางสาวนันทิยา&nbsp; ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียน</p><br />\n<P>เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี&nbsp; องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผล</p><br />\n<P>และประเมินผล</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 7.&nbsp; นางสาวสุพรรษา&nbsp; วุฒิยา&nbsp; ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา</p><br />\n<P>น้อมเกล้ากบินทร์บุรี&nbsp; องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขอขอบคุณคณะผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ได้กรุณาให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน และเป็นผู้เชี่ยวชาญ</p><br />\n<P>ในการตรวจสอบคู่มือการใช้แผนการสอน &nbsp;&nbsp;แผนการสอน&nbsp; และเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้</p><br />\n<P>เป็นอย่างสูง</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขอขอบคุณผู้บริหารโรงเรียน&nbsp; คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา&nbsp; คณะกรรมการสถานศึกษา</p><br />\n<P>ขั้นพื้นฐานโรงเรียน&nbsp; และนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี&nbsp;&nbsp; ที่ให้ความร่วมมือ</p><br />\n<P>ในการพัฒนางานเป็นอย่างดียิ่ง &nbsp;ไว้&nbsp; ณ&nbsp; ที่นี้ด้วย</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P align=center><STRONG>เอกสารอ้างอิง</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;</strong></p><br />\n<P>กระทรวงศึกษาธิการ. &nbsp;การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระภาษาไทยตาม<STRONG>หลักสูตรแกนกลางการศึกษา</strong></p><br />\n<P><STRONG>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นพื้นฐาน</strong><STRONG>&nbsp; พุทธศักราช 2551.</strong>&nbsp; กรุงเทพฯ &nbsp;:&nbsp; โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2551.</p><br />\n<P>ฐะปะนีย์&nbsp; นาครทรรพ.&nbsp; การสอนทักษะเพื่อการสื่อสารระดับมะยมศึกษาตอนต้น หน่วยที่ 6</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; “การสอนภาษาไทย&nbsp; หน่วยที่ 1 – 8”.&nbsp; กรุงเทพฯ &nbsp;: &nbsp;มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2538</p><br />\n<P>วิชาการ, กรม.&nbsp; ศิลปการใช้ภาษา. กรุงเทพฯ &nbsp;:&nbsp; โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2540.</p><br />\n<P>สุวัฒน์&nbsp; วิวัฒนานนท์. &nbsp;ทักษะการอ่าน&nbsp; คิดวิเคราะห์และเขียน.&nbsp; นนทบุรี&nbsp; :&nbsp; ซี.ซี. นอลจิคจ์ลิงคส์, 2550.</p><br />\n<P>อัจฉรา&nbsp; ชีวพันธ์.&nbsp;&nbsp; กิจกรรมการเขียนสร้างสรรค์ในชั้นประถมศึกษา. กรุงเทพฯ &nbsp;:&nbsp; สำนักพิมพ์</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.</p><br />\n<P>โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี.&nbsp; <STRONG>รายงานการจัดการศึกษา</strong>โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; น้อมเกล้ากบินทร์บุรี<STRONG>&nbsp; ประจำปีการศึกษา&nbsp; 2557.</strong><STRONG>&nbsp; ปราจีนบุรี&nbsp; :&nbsp; </strong>โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; น้อมเกล้ากบินทร์บุรี<STRONG>,&nbsp; 2557.</strong></p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n', created = 1716082296, expire = 1716168696, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:85859c7c224468d8f972d2ab7931b3de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี


การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3


โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี


 


ประมวล  นาสมรูป1


 


บทคัดย่อ


 


           การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  โรงเรียน


เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี  มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา ดังนี้ 1)  เพื่อพัฒนาการเขียน


เชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี


2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์  ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนที่เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า  กบินทร์บุรี  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558  จำนวน 201  คน  และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้  ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3


ห้อง 3/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี  ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2558   จำนวน 


41  คน   เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้  มี  3  ชนิด  ได้แก่  1) คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  จำนวน  8  แผน  9  ชั่วโมง   2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  3)  แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล  ได้แก่  ร้อยละ ค่าเฉลี่ย


และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


 


           ผลการศึกษา  ปรากฏดังนี้


               1.  ผลการประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  โดยผู้เชี่ยวชาญ  ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนโดยรวมในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย ()  เท่ากับ 4.67


               2.  ผลการวิเคราะห์  คะแนนเฉลี่ยจากการตรวจใบงานหรือชิ้นงาน  การสังเกตพฤติกรรม


การเรียนรู้นักเรียน  และการประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม  (ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1))


ของนักเรียน ทั้ง  8  แผน  นักเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยรวม 17.68  คิดเป็นร้อยละ  88.40  ประสิทธิภาพ


ของกระบวนการ  (E ) เท่ากับ  88.40


               3.  ผลการวิเคราะห์ คะแนนเฉลี่ย  และร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน(ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2))  คะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน  คะแนนเต็ม  20  คะแนน  ได้ค่าเฉลี่ย 17.05  คิดเป็นร้อยละ 85.25  แสดงว่า  ประสิทธิภาพของผลลัพธ์   (E2)  เท่ากับ  85.25  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน


สูงกว่าก่อนเรียน


           4.  สรุปประสิทธิภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3   


สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้  คือ 80/80   ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่า คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  มีประสิทธิภาพ  (E / E )  เท่ากับ  88.40/85.25   


           5.  ผลการวิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผลของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  มีค่าเท่ากับ 0.72183   แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน หรือคิดเป็น


ร้อยละ  72. 18


           6.  ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของ


การเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  มีความพึงพอใจ


ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด  (=  4.62) 


 


คำสำคัญ :   การพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3 


________________________________________________________________


1  ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี   องค์การบริหารส่วนจังหวัด


     ปราจีนบุรี


 


 


บทนำ


 


        ปัจจุบันการติดต่อสื่อสารมีหลายรูปแบบ  และวิธีการเขียนสื่อความเป็นการสื่อสารวิธีหนึ่งที่มนุษย์เราใช้มากที่สุด  การเขียนเป็นทักษะสำคัญใน  4  ทักษะของการใช้ภาษา  คือ การฟัง  การพูด  การอ่านและการเขียน  การเขียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ  ถ่ายทอดความรู้  สติปัญญาของมนุษย์  อีกทั้งสื่อสารถึงความรู้สึกที่อยู่ในใจออกมาให้ผู้อื่นได้รับรู้  นอกจากนี้วิธีการใช้สัญลักษณ์ตัวอักษร ยังแสดงออกได้ถึงกระบวนการทางความคิดอีกด้วย  (กรมวิชาการ. 2548  : 27-28 อ้างถึงในสุวัฒน์  วิวัฒนานนท์. 2550 : 67)  ดังนั้นการเขียนจึงเป็นวิธีการสื่อสารอย่างหนึ่งของมนุษย์  ที่แสดงออกทางภาษาเป็นลายลักษณ์อักษร 


เพื่อแสดงความรู้  ความคิด  ความสามารถและประสบการณ์ต่าง ๆ  ของตนเองให้คนอื่นได้รับรู้  สอดคล้องกับ อัจฉรา  ชีวพันธ์ ( 2550  :  1-4)  ที่กล่าวไว้ว่า  การเขียนเป็นสิ่งสำคัญต่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน 


เน้นทักษะการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด  และประสบการณ์ต่าง ๆ ของผู้เขียน  เพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเกิดความเข้าใจได้ตรงตามที่ผู้เขียนต้องการ  โดยการนำถ้อยคำ  มาเรียงลำดับความคิดให้ต่อเนื่องกัน  เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงพฤติกรรมการสร้างสรรค์ของผู้เขียน  ดังนั้นการเขียนจึงเป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็นสำหรับทุกคน  โดยเฉพาะการเขียนเชิงสร้างสรรค์


        การเขียนเชิงสร้างสรรค์  เป็นการเขียนซึ่งมีลักษณะของการคิดริเริ่ม  โดยที่ผู้เขียนต้องใช้จินตนาการ


และประสบการณ์ของตนเชื่อมโยงความคิดในการเขียน (อัจฉรา  ชีวพันธ์. 2550  :  3)  การเขียน


เชิงสร้างสรรค์  นอกจากจะสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจแล้ว  ต้องแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  ที่เกิดจากจินตนาการของผู้เขียนเอง  หรือความคิดคำนึงของตน  เขียนออกมาด้วยความสละสลวยประทับใจผู้อ่าน  ผู้ฟัง  และให้ความรู้สึกเพลิดเพลินใจและประดับสติปัญญาไปในตัว  นอกจากนี้การเขียนเชิงสร้างสรรค์ต้องเป็นการเขียน


ที่มิได้ลอกเลียนแบบผู้อื่น  มีอิสระที่จะคิดรูปแบบใหม่แตกต่างไปจากแนวคิดเดิมที่มีอยู่  มีความน่าสนใจ 


เป็นผลงานที่มีคุณค่าทางความคิดริเริ่มอย่างเด่นชัด (กรมวิชาการ. 2540  :  25)  ซึ่งสอดคล้องกับ 


ฐะปะนีย์  นาครทรรพ (2538  :  340) ที่กล่าวว่าการเขียนเชิงสร้างสรรค์  เป็นการพัฒนาศักยภาพทางด้านการใช้ภาษาเพื่อถ่ายทอดความคิดในทางสร้างสรรค์ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม  ช่วยให้ผู้เขียนได้ระบายอารมณ์ตามธรรมชาติที่มีอยู่ในตัว  ทำให้เกิดความเพลิดเพลิน  ชื่นชมในศิลปะ  ซาบซึ้งในภาษาเพื่อการแสดงออกด้านต่าง ๆ  รวมถึงการปรับตัวทางอารมณ์และสังคมได้อย่างดี


        ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ผลการสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า  กบินทร์บุรี   วิชาภาษาไทย  ปีการศึกษา  2556 และ 2557


(โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี  2557  :  9)  ผลปรากฏ  ดังนี้  ปีการศึกษา  2556  คะแนนเฉลี่ยรวมวิชาภาษาไทยระดับโรงเรียนเท่ากับ  43.89  ซึ่งต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ  44.25  ถ้าวิเคราะห์ในสาระการเรียนรู้การเขียนในระดับโรงเรียนคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 46.19   ซึ่งต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ  47.43  และในปีการศึกษา  2557   คะแนนเฉลี่ยรวมวิชาภาษาไทยระดับโรงเรียนเท่ากับ  35.08  ซึ่งต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ  35.20  ถ้าวิเคราะห์ในสาระการเรียนรู้


การเขียนในระดับโรงเรียนคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 34.62   ซึ่งต่ำกว่าระดับประเทศซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย


เท่ากับ  34.77   และสถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติมีข้อเสนอแนะให้โรงเรียนเร่งพัฒนาสาระการเรียนรู้


การเขียนสำหรับนักเรียนในโรงเรียนทั้ง  2  ปีการศึกษา  ซึ่งสอดคล้องกับรายงานผลการจัดการศึกษา


วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า  กบินทร์บุรี 


ในปีการศึกษา  2556 และ 2557  นักเรียนส่วนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการเขียนในระดับ


ที่ต้องปรับปรุง  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเขียนเชิงสร้างสรรค์ และจากการประเมินผลการเรียนก่อนเรียนนักเรียน


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  ปีการศึกษา  2558  พบว่า  นักเรียนส่วนมากมีปัญหาในเรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์เช่นกัน  ผู้รายงานในฐานะที่เป็นครูประจำชั้นจึงเห็นความสำคัญและจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาการเรียนรู้การเขียนเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรีขึ้น


 


 


วัตถุประสงค์ของการศึกษา


1. เพื่อพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี


          2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา


น้อมเกล้า กบินทร์บุรี ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์


 


ขอบเขตของการศึกษา


           1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา


               1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนที่เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า  กบินทร์บุรี  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558  จำนวน 201  คน


               1.2  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนที่เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3 


ห้อง 3/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า  กบินทร์บุรี  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 


จำนวน  41 คน  ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม


           2.  ระยะเวลาในการศึกษา


               ภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2558


           3.  เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา


               เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา  คือ  เนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  ตามหลักสูตรโรงเรียน


เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า  กบินทร์บุรี


 


เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา         


           1.  คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย


หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   


           2.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   ชนิดเลือกตอบแบบปรนัย 


ชนิด  4  ตัวเลือก  จำนวน  20  ข้อ


           3.  แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ตามคู่มือแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3    โดยใช้แบบประเมินคุณภาพชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 


(Rating Scale)   5  ระดับ  จำนวน  20  ข้อ


 


 


ผลการวิจัย


           1.  ผลการประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระ


การเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   โดยผู้เชี่ยวชาญ  ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนโดยรวมในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย ()  เท่ากับ 4.67  ถ้าแยกเป็นตอน  ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่  6  ตอนที่  2 เนื้อหาของคู่มือการใช้แผน  โดยรวมในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย ()  เท่ากับ 4.67และผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่  6  ตอนที่  1  คุณภาพของคู่มือการใช้แผน โดยรวมในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ()  เท่ากับ 4.64  ถ้าพิจารณา เป็นรายข้อ  ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสมของเอกสารในระดับมากและมากที่สุดทุกข้อ  มีค่าเฉลี่ย ()  ระหว่าง  4.43 – 4.86


           2.  ผลการวิเคราะห์  คะแนนเฉลี่ยจากการตรวจใบงานหรือชิ้นงาน  การสังเกตพฤติกรรม


การเรียนรู้นักเรียน  และการประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม  (ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1))


นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินการปฏิบัติตามใบงาน  การประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม


และการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอนกลุ่มสาระ


การเรียนรู้    ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ 


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  ทั้ง  8  แผน  ได้คะแนนเฉลี่ยรวม 17.68  คิดเป็นร้อยละ 88.40  ประสิทธิภาพ


ของกระบวนการ  (E ) เท่ากับ  88.40


           3.  ผลการวิเคราะห์ คะแนนเฉลี่ย  และร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน(ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2))  คะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์


ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน  คะแนนเต็ม  20  คะแนน  ได้ค่าเฉลี่ย  17.05  คิดเป็นร้อยละ  85.25  แสดงว่า  ประสิทธิภาพของผลลัพธ์   (E2)  เท่ากับ  85.25  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน


สูงกว่าก่อนเรียน


           4.  สรุปประสิทธิภาพของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3 


สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ  80/80  ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่า คู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบ


การสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  มีประสิทธิภาพ  (E / E )  เท่ากับ  88.40/85.25


           5.  ผลการวิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผลของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   ดัชนีประสิทธิผลของคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบ การสอนกลุ่มสาระ


การเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  มีค่าเท่ากับ 0.72183   แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน หรือคิดเป็นร้อยละ  72.18


           6.  ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือ


การใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3    ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระ


การเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน  เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์   โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด  (=  4.62)  ถ้าพิจารณาเป็นรายด้านนักเรียนมีความพึงพอใจมากเป็นอันดับ 1  คือด้าน


การใช้สื่ออุปกรณ์  นักเรียนมีความพึงพอใจระดับมากที่สุด (  =  4.71)  อันดับที่  2 คือด้านกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนมีความพึงพอใจระดับมากที่สุด (  =  4.61)   อันดับที่ 3  คือ นักเรียนด้านเนื้อหา


เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ นักเรียนมีความพึงพอใจระดับมากที่สุดทุกข้อ


 


ข้อเสนอแนะ


           1.  ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้


               1.1  ครูผู้สอนภาษาไทยมีบทบาทสำคัญ  เพราะจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยให้นักเรียนเกิดทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ต้องมีเทคนิคการสอน  ขณะปฏิบัติกิจกรรม


ต้องพยายามตั้งคำถามให้กับนักเรียนมาก ๆ เพื่อช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดอย่างหลากหลาย  และให้คำปรึกษาแนะนำช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ


               1.2  การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์  เป็นการจัดกิจกรรมที่เน้น


นักเรียนเป็นสำคัญ  ปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา  ค้นคว้า วิเคราะห์  สังเคราะห์  ปฏิบัติ 


ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนและกิจกรรมที่ต้องฝึกให้เกิดทักษะ นักเรียนอาจใช้เวลาปฏิบัติกิจกรรมนานกว่า


ที่กำหนด  ครูผู้สอนอาจยืดหยุ่นเวลาได้  หรือมอบหมายให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าหลังเวลาเรียนเพิ่มเติม


               1.3  ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน             เช่น  ผู้บริหาร  ฝ่ายวิชาการ  หน่วยศึกษานิเทศก์  ควรนำเอกสารคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วยการเรียนที่ 6  ประเภทของการเขียน เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  ไปเผยแพร่  ให้ครูผู้สอนนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  เพราะเป็นกระบวนการที่สามารถจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย  ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


           2.  ข้อเสนอแนะในการศึกษาต่อไป


               2.1  ควรมีการพัฒนาคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในหน่วยการเรียนรู้อื่น  หรือสาระการเรียนรู้อื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น


               2.2  ควรทำพัฒนาคู่มือการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้นอื่น ๆ  ด้วย


                


 


 


          กิตติกรรมประกาศ


 


           รายงานการศึกษาเล่มนี้สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือและได้รับแนะนำอย่างดียิ่งจาก


ผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน ดังนี้


               1.  นายคมสรร  รสดี   ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี


องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี  ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา


               2.  นายเชาวฤทธิ์  โคละทัต ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี  องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี    ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษาและด้านหลักสูตรและการสอน


               3.  นางวิไลวรรณ  นวลเลิศ  ครู วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ  โรงเรียนเขาฉกรรจ์วิทยาคม  


องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว  ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย


               4.  นางบุษวรรณ  เชื้อชะเอม  ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ  โรงเรียนเขาฉกรรจ์วิทยาคม   องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว  ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย


               5.  นางวรัญญา  พงษ์ประเสริฐ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ  โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ  องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี   ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอนภาษาไทย


               6.  นางสาวนันทิยา  ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียน


เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี  องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี    ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผล


และประเมินผล


               7.  นางสาวสุพรรษา  วุฒิยา  ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา


น้อมเกล้ากบินทร์บุรี  องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี    ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย


           ขอขอบคุณคณะผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ได้กรุณาให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน และเป็นผู้เชี่ยวชาญ


ในการตรวจสอบคู่มือการใช้แผนการสอน   แผนการสอน  และเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้


เป็นอย่างสูง


           ขอขอบคุณผู้บริหารโรงเรียน  คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา  คณะกรรมการสถานศึกษา


ขั้นพื้นฐานโรงเรียน  และนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า กบินทร์บุรี   ที่ให้ความร่วมมือ


ในการพัฒนางานเป็นอย่างดียิ่ง  ไว้  ณ  ที่นี้ด้วย


          


          


          


 


 


 


 


 


เอกสารอ้างอิง


 


กระทรวงศึกษาธิการ.  การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา


           ขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช 2551.  กรุงเทพฯ  :  โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2551.


ฐะปะนีย์  นาครทรรพ.  การสอนทักษะเพื่อการสื่อสารระดับมะยมศึกษาตอนต้น หน่วยที่ 6


           “การสอนภาษาไทย  หน่วยที่ 1 – 8”.  กรุงเทพฯ  :  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2538


วิชาการ, กรม.  ศิลปการใช้ภาษา. กรุงเทพฯ  :  โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2540.


สุวัฒน์  วิวัฒนานนท์.  ทักษะการอ่าน  คิดวิเคราะห์และเขียน.  นนทบุรี  :  ซี.ซี. นอลจิคจ์ลิงคส์, 2550.


อัจฉรา  ชีวพันธ์.   กิจกรรมการเขียนสร้างสรรค์ในชั้นประถมศึกษา. กรุงเทพฯ  :  สำนักพิมพ์


           จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.


โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้ากบินทร์บุรี.  รายงานการจัดการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา


           น้อมเกล้ากบินทร์บุรี  ประจำปีการศึกษา  2557.  ปราจีนบุรี  :  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา


           น้อมเกล้ากบินทร์บุรี,  2557.


          

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 259 คน กำลังออนไลน์