• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:49661e038dcd9d64ab5d6b5d9ebb9a3c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1><strong>ชื่อเรื่อง</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp; การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง</h1>\n<h1><strong>ผู้วิจัย </strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นายสมปอง ชินตะวัน<br /> <strong>โรงเรียน&nbsp; </strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง ตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1</h1>\n<p><strong>ปีการศึกษา</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556</p>\n<h2 align=\"left\">&nbsp;</h2>\n<h2>บทคัดย่อ</h2>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 เป็นโครงการที่บริหารจัดการสถานศึกษาโดยการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อกิจกรรมการเรียนการสอน <br /> การวิจัยเชิงประเมินครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบซิป (CIPP Model) ประกอบด้วยการประเมินด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ด้านกระบวนการ (Process) และด้านผลผลิต (Product) คือ 1) เพื่อประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านสภาวะแวดล้อม สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านปัจจัยนำเข้า สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านกระบวนการ สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับนักเรียน และสำหรับผู้ปกครองนักเรียน 5) เพื่อเสนอแนะปัญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาการดำเนินงานของโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1</p>\n<p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครู จำนวน 26 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) นักเรียนจำนวน 61 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratify random sampling) และผู้ปกครอง จำนวน 61 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ตามสูตรของทาโร ยามาเน (Yamane) และกลุ่มตัวอย่างสำหรับการสนทนากลุ่ม (Focus group) ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) จำนวน 12 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยคือ ปีการศึกษา 2556 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 ใช้สอบถามความคิดเห็นผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา<br /> ขั้นพื้นฐาน ใช้สอบถาม 4 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต จำนวน 65 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.35 – 0.80 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94ฉบับที่ 2 ใช้สอบถามความคิดเห็นของนักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการ คือ ด้านผลผลิตสำหรับนักเรียน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.38 – 0.77 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.93และฉบับที่ 3 ใช้สอบถามความคิดเห็น ของผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ คือ ด้านผลผลิตสำหรับผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.51 – 0.91 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</strong></p>\n<p align=\"left\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านสภาวะแวดล้อม สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.59, S.D. = 0.90) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 8 เป็นโครงการที่สนองความต้องการของชุมชนเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับ มากที่สุด&nbsp; ( = 4.67, S.D. = 0.95) รองลงมาคือ ข้อที่ 2 วัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้มีความชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.66, S.D. = 0.87) &nbsp;และข้อที่ 9 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินงานให้การยอมรับว่าเป็นโครงการที่จะเกิดการพัฒนาและมีความคุ้มค่าในการดำเนินงาน อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.63, S.D. = 0.82) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 7 เป้าหมายโครงการที่กำหนดสอดคล้องกับความต้องการจำเป็นในการพัฒนา การจัดการศึกษา อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.51, S.D. = 0.97)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านปัจจัยนำเข้า สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.51, S.D. = 1.02) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 11 ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนมีส่วนร่วมตัดสินใจ วางแผน และพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.87, S.D. = 1.12) รองลงมาคือ ข้อที่ 5 ครูมีเจตคติที่ดีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.85, S.D. = 0.79)&nbsp; และข้อที่ 12 โรงเรียนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่จำเป็นต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.83,S.D.= 0.98)&nbsp; ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 2 จำนวนครูผู้สอนเพียงพอในการเปิดสอนตามโครงการ อยู่ในระดับ มาก (&nbsp;= 4.12, S.D. = 0.96)</p>\n<p align=\"left\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1ด้านกระบวนการ สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;=4.52, S.D. = 0.91) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 8 โรงเรียนพัฒนา การจัดการศึกษาอย่างครบถ้วนทั้งด้านพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษานักเรียนรวมถึงสื่อ วัสดุอุปกรณ์ อยู่ในระดับ มากที่สุด&nbsp; (&nbsp;=4.85, S.D. = 0.79) รองลงมา คือ ข้อที่ 4 โรงเรียนกำหนดโครงสร้างหลักสูตรการจัดการศึกษาสอดคล้องกับสภาพผู้เรียนและท้องถิ่น อยู่ในระดับ มากที่สุด&nbsp; <br /> (&nbsp;=4.75, S.D. = 0.78) และข้อที่ 1 โรงเรียนดำเนินการศึกษา วิเคราะห์สภาพ ปัญหา และความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษา&nbsp; อยู่ในระดับ มากที่สุด&nbsp; (&nbsp;=4.68, S.D. = 1.10) <br /> ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 14 โรงเรียนสามารถดำเนินการวิจัยตามแผนงานที่กำหนด อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;=4.26, S.D. = 0.78)</p>\n<p align=\"left\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับนักเรียน และสำหรับผู้ปกครองนักเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด <br /> (&nbsp;= 4.63, S.D. = 0.96) สามารถจำแนกได้ดังนี้</p>\n<p align=\"left\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.1 การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;=4.64, S.D. = 0.99) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 8 นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการเรียนรู้และประกอบอาชีพตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;=4.81, S.D. = 0.92) รองลงมา คือ ข้อที่ 1 โรงเรียนมีหลักสูตรเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับศักยภาพของนักเรียนและบริบทของโรงเรียน &nbsp;อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;=4.78, S.D. = 0.83) และข้อที่ 9 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;=4.73, S.D. = 0.90) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 7 โรงเรียนนำผลการวิจัยไปพัฒนา ปรับปรุงการดำเนินงาน อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.51, S.D. = 1.15)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.2 การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.65, S.D. = 1.10) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 14 นักเรียนมีโอกาสฝึกประสบการณ์ และศึกษาดูงานอาชีพจากแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.91, S.D. = 1.19) รองลงมาคือ ข้อที่ 18 นักเรียนภูมิใจว่าตนเองเป็นผู้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.82, S.D. = 1.23) และข้อที่ 1 โรงเรียนดำเนินโครงการเขาคลองซองพอเพียงสอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน <br /> อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.79, S.D. = 0.98) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 12 นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนจากการจัดกิจกรรมตามโครงการ อยู่ในระดับ มาก (&nbsp;= 4.19, S.D. = 1.20)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.3 การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับผู้ปกครองนักเรียน ภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.61, S.D. = 0.78) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 17 การจัดกิจกรรมตามโครงการเขาคลองซองพอเพียงส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถตรงกับความต้องการของผู้ปกครอง และชุมชน อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.87, S.D. = 0.85) รองลงมาคือ ข้อที่ 19 การจัดกิจกรรมตามโครงการเขาคลองซองพอเพียงทำให้นักเรียนขยันเอาใจใส่ มีความรับผิดชอบ แบ่งเบาของภาระผู้ปกครอง อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.86, S.D. = 0.75) และข้อที่ 1 การจัดกิจกรรมตามโครงการเขาคลองซองพอเพียงทำให้นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับ มากที่สุด (&nbsp;= 4.83, S.D. = 0.62) ตามลำดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 13 โรงเรียนจัดสิ่งแวดล้อม และใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการดำเนินโครงการ อยู่ในระดับ มาก&nbsp; (&nbsp;= 4.29, S.D. = 0.89)</p>\n<p align=\"left\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp; การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (&nbsp;= 4.56, S.D. = 0.95) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ด้านผลผลิต (&nbsp;= 4.63, S.D. = 0.96) &nbsp;รองลงมาคือ ด้านสภาวะแวดล้อม (&nbsp;= 4.59, S.D. = 0.90) และด้านกระบวนการ (&nbsp;= 4.52, S.D. = 0.91) ตามลำดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านปัจจัยนำเข้า (&nbsp;= 4.51, S.D. = 1.02)</p>\n<p>&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาการดำเนินงานของโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ปรากฏดังนี้ 1) ยังขาดเทคนิควิธีการที่จะนำนโยบายเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ การบริหารจัดการและการใช้หลักสูตร การบูรณาการการจัดกิจกรรม การนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การนำผลการวิจัยและการประเมินไปใช้อย่างจริงจัง ซึ่งโรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่พร้อมในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ทั้งด้านการประกอบอาชีพ สถานที่ บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ แต่ขาดทรัพยากรทางการศึกษา บุคลากรไม่เพียงพอ งบประมาณสนับสนุนมีน้อย 2) โรงเรียนต้องวิเคราะห์บริบท ความพร้อม จุดแข็ง และทรัพยากร และควรมีการสำรวจความต้องการของนักเรียนในด้านความรู้ ความสามารถ ถนัดด้านใด วิเคราะห์ ทำความรู้จักผู้เรียนรายบุคคล แล้วเลือกบูรณาการกิจกรรมให้<br /> ตรงตามความถนัด มอบหมายหน้าที่ให้เหมาะสมกับผู้เรียน มีขอบข่ายหน้าที่ แนวปฏิบัติ หรือกำหนดบทบาทให้ชัดเจน เมื่อฝึกปฏิบัติแล้วสามารถนำความรู้ ทักษะ ไปใช้ชีวิตประจำวันอย่างแท้จริง <br /> 3) ข้อเสนอแนะอื่น ๆ พบว่า โรงเรียนควรมีการทำ MOU กับหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญ หรือเป็นต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อประสานความร่วมมือในด้านวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ควรมีการอบรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการประกอบอาชีพในประชาคมอาเซียน การแข่งขันในตลาดโลก ควรจัดให้มีการแข่งขัน ยกย่อง เชิดชูเกียรติ และส่งเสริมให้งานอาชีพให้เป็นงานประจำ ปฏิบัติให้ถึงแก่นให้มีความรู้ประสบการณ์ ฝึกฝนจนเกิดความยั่งยืน อยู่ในวิถีชีวิตประจำวัน</p>\n', created = 1715480530, expire = 1715566930, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:49661e038dcd9d64ab5d6b5d9ebb9a3c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง

ชื่อเรื่อง           การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง

ผู้วิจัย             นายสมปอง ชินตะวัน
โรงเรียน          โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง ตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง
                   สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1

ปีการศึกษา      ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

 

บทคัดย่อ

 

           การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 เป็นโครงการที่บริหารจัดการสถานศึกษาโดยการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อกิจกรรมการเรียนการสอน
การวิจัยเชิงประเมินครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินโครงการโดยใช้รูปแบบซิป (CIPP Model) ประกอบด้วยการประเมินด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ด้านกระบวนการ (Process) และด้านผลผลิต (Product) คือ 1) เพื่อประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านสภาวะแวดล้อม สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านปัจจัยนำเข้า สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านกระบวนการ สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับนักเรียน และสำหรับผู้ปกครองนักเรียน 5) เพื่อเสนอแนะปัญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาการดำเนินงานของโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงประเมินครั้งนี้ ประกอบด้วย ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครู จำนวน 26 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) นักเรียนจำนวน 61 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratify random sampling) และผู้ปกครอง จำนวน 61 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ตามสูตรของทาโร ยามาเน (Yamane) และกลุ่มตัวอย่างสำหรับการสนทนากลุ่ม (Focus group) ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) จำนวน 12 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยคือ ปีการศึกษา 2556 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 ใช้สอบถามความคิดเห็นผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ใช้สอบถาม 4 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต จำนวน 65 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.35 – 0.80 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94ฉบับที่ 2 ใช้สอบถามความคิดเห็นของนักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการ คือ ด้านผลผลิตสำหรับนักเรียน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.38 – 0.77 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.93และฉบับที่ 3 ใช้สอบถามความคิดเห็น ของผู้ปกครองนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ คือ ด้านผลผลิตสำหรับผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.51 – 0.91 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

           ผลการวิจัยพบว่า

               1. การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านสภาวะแวดล้อม สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.59, S.D. = 0.90) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 8 เป็นโครงการที่สนองความต้องการของชุมชนเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับ มากที่สุด  ( = 4.67, S.D. = 0.95) รองลงมาคือ ข้อที่ 2 วัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้มีความชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.66, S.D. = 0.87)  และข้อที่ 9 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินงานให้การยอมรับว่าเป็นโครงการที่จะเกิดการพัฒนาและมีความคุ้มค่าในการดำเนินงาน อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.63, S.D. = 0.82) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 7 เป้าหมายโครงการที่กำหนดสอดคล้องกับความต้องการจำเป็นในการพัฒนา การจัดการศึกษา อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.51, S.D. = 0.97)
               2. การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านปัจจัยนำเข้า สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.51, S.D. = 1.02) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 11 ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนมีส่วนร่วมตัดสินใจ วางแผน และพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.87, S.D. = 1.12) รองลงมาคือ ข้อที่ 5 ครูมีเจตคติที่ดีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.85, S.D. = 0.79)  และข้อที่ 12 โรงเรียนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่จำเป็นต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.83,S.D.= 0.98)  ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 2 จำนวนครูผู้สอนเพียงพอในการเปิดสอนตามโครงการ อยู่ในระดับ มาก ( = 4.12, S.D. = 0.96)

               3. การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1ด้านกระบวนการ สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.52, S.D. = 0.91) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 8 โรงเรียนพัฒนา การจัดการศึกษาอย่างครบถ้วนทั้งด้านพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษานักเรียนรวมถึงสื่อ วัสดุอุปกรณ์ อยู่ในระดับ มากที่สุด  ( =4.85, S.D. = 0.79) รองลงมา คือ ข้อที่ 4 โรงเรียนกำหนดโครงสร้างหลักสูตรการจัดการศึกษาสอดคล้องกับสภาพผู้เรียนและท้องถิ่น อยู่ในระดับ มากที่สุด 
( =4.75, S.D. = 0.78) และข้อที่ 1 โรงเรียนดำเนินการศึกษา วิเคราะห์สภาพ ปัญหา และความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษา  อยู่ในระดับ มากที่สุด  ( =4.68, S.D. = 1.10)
ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 14 โรงเรียนสามารถดำเนินการวิจัยตามแผนงานที่กำหนด อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.26, S.D. = 0.78)

               4. การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับนักเรียน และสำหรับผู้ปกครองนักเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
( = 4.63, S.D. = 0.96) สามารถจำแนกได้ดังนี้

                   4.1 การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.64, S.D. = 0.99) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 8 นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการเรียนรู้และประกอบอาชีพตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.81, S.D. = 0.92) รองลงมา คือ ข้อที่ 1 โรงเรียนมีหลักสูตรเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับศักยภาพของนักเรียนและบริบทของโรงเรียน  อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.78, S.D. = 0.83) และข้อที่ 9 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.73, S.D. = 0.90) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 7 โรงเรียนนำผลการวิจัยไปพัฒนา ปรับปรุงการดำเนินงาน อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.51, S.D. = 1.15)
                   4.2 การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.65, S.D. = 1.10) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 14 นักเรียนมีโอกาสฝึกประสบการณ์ และศึกษาดูงานอาชีพจากแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.91, S.D. = 1.19) รองลงมาคือ ข้อที่ 18 นักเรียนภูมิใจว่าตนเองเป็นผู้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.82, S.D. = 1.23) และข้อที่ 1 โรงเรียนดำเนินโครงการเขาคลองซองพอเพียงสอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน
อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.79, S.D. = 0.98) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 12 นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนจากการจัดกิจกรรมตามโครงการ อยู่ในระดับ มาก ( = 4.19, S.D. = 1.20)
                   4.3 การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ด้านผลผลิต สำหรับผู้ปกครองนักเรียน ภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.61, S.D. = 0.78) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 17 การจัดกิจกรรมตามโครงการเขาคลองซองพอเพียงส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถตรงกับความต้องการของผู้ปกครอง และชุมชน อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.87, S.D. = 0.85) รองลงมาคือ ข้อที่ 19 การจัดกิจกรรมตามโครงการเขาคลองซองพอเพียงทำให้นักเรียนขยันเอาใจใส่ มีความรับผิดชอบ แบ่งเบาของภาระผู้ปกครอง อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.86, S.D. = 0.75) และข้อที่ 1 การจัดกิจกรรมตามโครงการเขาคลองซองพอเพียงทำให้นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.83, S.D. = 0.62) ตามลำดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ข้อที่ 13 โรงเรียนจัดสิ่งแวดล้อม และใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการดำเนินโครงการ อยู่ในระดับ มาก  ( = 4.29, S.D. = 0.89)

               การประเมินโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.56, S.D. = 0.95) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ด้านผลผลิต ( = 4.63, S.D. = 0.96)  รองลงมาคือ ด้านสภาวะแวดล้อม ( = 4.59, S.D. = 0.90) และด้านกระบวนการ ( = 4.52, S.D. = 0.91) ตามลำดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ( = 4.51, S.D. = 1.02)

      5. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาการดำเนินงานของโครงการเขาคลองซองพอเพียง โรงเรียนบ้านเขาคลองซอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ปรากฏดังนี้ 1) ยังขาดเทคนิควิธีการที่จะนำนโยบายเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ การบริหารจัดการและการใช้หลักสูตร การบูรณาการการจัดกิจกรรม การนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การนำผลการวิจัยและการประเมินไปใช้อย่างจริงจัง ซึ่งโรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่พร้อมในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ทั้งด้านการประกอบอาชีพ สถานที่ บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ แต่ขาดทรัพยากรทางการศึกษา บุคลากรไม่เพียงพอ งบประมาณสนับสนุนมีน้อย 2) โรงเรียนต้องวิเคราะห์บริบท ความพร้อม จุดแข็ง และทรัพยากร และควรมีการสำรวจความต้องการของนักเรียนในด้านความรู้ ความสามารถ ถนัดด้านใด วิเคราะห์ ทำความรู้จักผู้เรียนรายบุคคล แล้วเลือกบูรณาการกิจกรรมให้
ตรงตามความถนัด มอบหมายหน้าที่ให้เหมาะสมกับผู้เรียน มีขอบข่ายหน้าที่ แนวปฏิบัติ หรือกำหนดบทบาทให้ชัดเจน เมื่อฝึกปฏิบัติแล้วสามารถนำความรู้ ทักษะ ไปใช้ชีวิตประจำวันอย่างแท้จริง
3) ข้อเสนอแนะอื่น ๆ พบว่า โรงเรียนควรมีการทำ MOU กับหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญ หรือเป็นต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อประสานความร่วมมือในด้านวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ควรมีการอบรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการประกอบอาชีพในประชาคมอาเซียน การแข่งขันในตลาดโลก ควรจัดให้มีการแข่งขัน ยกย่อง เชิดชูเกียรติ และส่งเสริมให้งานอาชีพให้เป็นงานประจำ ปฏิบัติให้ถึงแก่นให้มีความรู้ประสบการณ์ ฝึกฝนจนเกิดความยั่งยืน อยู่ในวิถีชีวิตประจำวัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 265 คน กำลังออนไลน์