• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:38fce40bc91b1b86f804890655e6edf0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\"><strong>บทสรุปสำหรับผู้บริหาร</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p><strong>เรื่อง &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>รายงานการประเมินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1 อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย </strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นางเรณู&nbsp;&nbsp; สรหงษ์</p>\n<p class=\"Default\"><strong>ตำแหน่ง</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รองผู้อำนวยการโรงเรียน</p>\n<p class=\"Default\">&nbsp;</p>\n<p>การประเมินโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินสภาพแวดล้อม (Context) ด้านความสอดคล้องของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล กับนโยบายการศึกษา 2) เพื่อประเมินปัจจัย (Input) นำเข้าด้านความเหมาะสม ความเพียงพอของทรัพยากรของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล 3) เพื่อประเมินกระบวนการ (Process) การปฏิบัติงานตามขั้นตอนการดำเนินงานของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;4) เพื่อประเมินผลผลิต (Product) ของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล โดยใช้รูปแบบการประเมินโครงการ CIPP MODEL ของสตัฟเฟิลบีม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินโครงการ ประกอบด้วย ผู้บริหาร จำนวน 5 คน ครู จำนวน 71 คน คณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน&nbsp; 13 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 &nbsp;จำนวน 508 คน และผู้ปกครอง จำนวน 508 คน ของโรงเรียนโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1 &nbsp;ปีการศึกษา 2557 ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 5 ฉบับ มีค่าความเที่ยง 0.81-0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน &nbsp;</p>\n<p class=\"Default\">ผลการประเมิน พบว่า</p>\n<p>1. การประเมินสภาพแวดล้อมด้านความสอดคล้องของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล กับนโยบายการศึกษา พบว่า ผู้บริหาร และครู มีความคิดเห็นต่อการประเมินสภาพแวดล้อมด้านความสอดคล้องของโครงการกับนโยบายการศึกษาโดยรวมมีความสอดคล้อง อยู่ในระดับมาก ( =4.24) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ทุกข้อมีความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีความสอดคล้องสูงสุด ได้แก่ โครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มีความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก (=4.25) ข้อที่มีความสอดคล้องต่ำสุด ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์กับกิจกรรมของโครงการ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;มีความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก (=3.59)</p>\n<p class=\"Default\">2. การประเมินปัจจัยนำเข้าด้านความเหมาะสม ความเพียงพอของทรัพยากรโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล &nbsp;พบว่า ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครู มีความคิดเห็นต่อการประเมินปัจจัยนำเข้าด้านความเหมาะสม ความเพียงพอของทรัพยากรของโครงการพัฒนาพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากลโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (=3.85) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีความเหมาะสมสูงสุด ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมและให้การสนับสนุนโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (=4.13) ข้อที่มีความเหมาะสมต่ำสุด คือ โรงเรียนได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการดำเนินโครงการ โรงเรียนสนับสนุนงบประมาณอย่างเพียงพอ และ ผู้ดำเนินโครงการวางแผนการดำเนินงานเป็นระบบ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (=3.54)</p>\n<p class=\"Default\">3. การประเมินกระบวนการ การปฏิบัติงานตามขั้นตอนการดำเนินงานของพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากลพบว่า (1) ผู้บริหาร และครู มีความคิดเห็นการประเมินกระบวนการ การปฏิบัติงานตามขั้นตอนการดำเนินงานของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล โดยรวมการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=4.15) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ กำหนดปฏิทินปฏิบัติงานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเหมาะสมชัดเจน มีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก (=3.91) รองลงมา คือ การนิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินโครงการตามขั้นตอนที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;(&nbsp;=3.92) ข้อที่มีการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การสำรวจ ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล และ การปรับปรุงแก้ไขวิธีการปฏิบัติ เมื่อพบข้อบกพร่องขณะดำเนินการ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.75) &nbsp;</p>\n<p class=\"Default\">ผู้บริหาร และครู มีความคิดเห็นต่อการประเมินระดับการปฏิบัติงานตามกิจกรรมในโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ด้านกระบวนการการจัดกิจกรรม 5 กิจกรรม โดยรวมการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.92) เมื่อพิจารณา รายข้อ พบว่า ทุกข้อมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ &nbsp;การพัฒนาบุคลากรด้านICT มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=4.18) ข้อที่มีการปฏิบัติต่ำสุด คือ &nbsp;การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วย EIS มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.56)</p>\n<p class=\"Default\">4. การประเมินผลผลิตการดำเนินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล (เมื่อสิ้นสุดโครงการ)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พบว่า (1) ผู้บริหาร และครู มีความคิดเห็นการประเมินต่อผลผลิตการดำเนินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล (เมื่อสิ้นสุดโครงการ) โดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.98) &nbsp;เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนมีคุณภาพในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=4.09) ข้อที่มีการปฏิบัติต่ำสุด คือ มีอุปกรณ์เพียงพอในการดำเนินงาน ควรจัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในการปรับปรุง-ซ่อมแซม วัสดุอุปกรณ์ที่ชารุดและอุปกรณ์ที่จำเป็นในการพัฒนา และ บริการข้อมูลให้แก่ครู นักเรียน และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.78) (2) ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีความคิดเห็นการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการพัฒนางานบุคลากรโดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (=3.94) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีความพึงพอใจสูงสุด ได้แก่ ครู ผู้บริหาร และบุคลากร ในโรงเรียนมีคุณภาพในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (=4.08) ข้อที่มีความพึงพอใจต่ำสุด คือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (=3.80)</p>\n<p class=\"Default\">&nbsp;</p>\n<p><strong>ข้อเสนอแนะ </strong></p>\n<p>1. ควรนำผลการประเมินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ไปใช้เป็นข้อมูลการบริหารจัดการด้านการพัฒนาการบริหารงานบุคคล เพื่อวางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ &nbsp;การปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีคุณภาพสู่สากล</p>\n<p>2. ควรจัดกิจกรรมหรือโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูอันจะส่งผลให้ผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล ซึ่งได้รับประโยชน์และตรงกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน</p>\n<p>3. ควรนำผลการประเมินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพของครูในโรงเรียนหรือพัฒนางานพัฒนาบุคคลากรของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1ในปีต่อไป</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1728184320, expire = 1728270720, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:38fce40bc91b1b86f804890655e6edf0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รายงานการประเมินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ผลงานของ นางเรณู สรหงษ์

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

 

เรื่อง              รายงานการประเมินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1 อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี

ผู้วิจัย             นางเรณู   สรหงษ์

ตำแหน่ง          รองผู้อำนวยการโรงเรียน

 

การประเมินโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินสภาพแวดล้อม (Context) ด้านความสอดคล้องของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล กับนโยบายการศึกษา 2) เพื่อประเมินปัจจัย (Input) นำเข้าด้านความเหมาะสม ความเพียงพอของทรัพยากรของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล 3) เพื่อประเมินกระบวนการ (Process) การปฏิบัติงานตามขั้นตอนการดำเนินงานของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล              4) เพื่อประเมินผลผลิต (Product) ของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล โดยใช้รูปแบบการประเมินโครงการ CIPP MODEL ของสตัฟเฟิลบีม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินโครงการ ประกอบด้วย ผู้บริหาร จำนวน 5 คน ครู จำนวน 71 คน คณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน  13 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6  จำนวน 508 คน และผู้ปกครอง จำนวน 508 คน ของโรงเรียนโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1  ปีการศึกษา 2557 ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 5 ฉบับ มีค่าความเที่ยง 0.81-0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน  

ผลการประเมิน พบว่า

1. การประเมินสภาพแวดล้อมด้านความสอดคล้องของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล กับนโยบายการศึกษา พบว่า ผู้บริหาร และครู มีความคิดเห็นต่อการประเมินสภาพแวดล้อมด้านความสอดคล้องของโครงการกับนโยบายการศึกษาโดยรวมมีความสอดคล้อง อยู่ในระดับมาก ( =4.24) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ทุกข้อมีความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีความสอดคล้องสูงสุด ได้แก่ โครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มีความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก (=4.25) ข้อที่มีความสอดคล้องต่ำสุด ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์กับกิจกรรมของโครงการ             มีความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก (=3.59)

2. การประเมินปัจจัยนำเข้าด้านความเหมาะสม ความเพียงพอของทรัพยากรโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล  พบว่า ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครู มีความคิดเห็นต่อการประเมินปัจจัยนำเข้าด้านความเหมาะสม ความเพียงพอของทรัพยากรของโครงการพัฒนาพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากลโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (=3.85) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีความเหมาะสมสูงสุด ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมและให้การสนับสนุนโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (=4.13) ข้อที่มีความเหมาะสมต่ำสุด คือ โรงเรียนได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการดำเนินโครงการ โรงเรียนสนับสนุนงบประมาณอย่างเพียงพอ และ ผู้ดำเนินโครงการวางแผนการดำเนินงานเป็นระบบ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (=3.54)

3. การประเมินกระบวนการ การปฏิบัติงานตามขั้นตอนการดำเนินงานของพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากลพบว่า (1) ผู้บริหาร และครู มีความคิดเห็นการประเมินกระบวนการ การปฏิบัติงานตามขั้นตอนการดำเนินงานของโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล โดยรวมการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=4.15) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ กำหนดปฏิทินปฏิบัติงานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเหมาะสมชัดเจน มีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก (=3.91) รองลงมา คือ การนิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินโครงการตามขั้นตอนที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก                  ( =3.92) ข้อที่มีการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การสำรวจ ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล และ การปรับปรุงแก้ไขวิธีการปฏิบัติ เมื่อพบข้อบกพร่องขณะดำเนินการ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.75)  

ผู้บริหาร และครู มีความคิดเห็นต่อการประเมินระดับการปฏิบัติงานตามกิจกรรมในโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ด้านกระบวนการการจัดกิจกรรม 5 กิจกรรม โดยรวมการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.92) เมื่อพิจารณา รายข้อ พบว่า ทุกข้อมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่  การพัฒนาบุคลากรด้านICT มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=4.18) ข้อที่มีการปฏิบัติต่ำสุด คือ  การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วย EIS มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.56)

4. การประเมินผลผลิตการดำเนินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล (เมื่อสิ้นสุดโครงการ)            พบว่า (1) ผู้บริหาร และครู มีความคิดเห็นการประเมินต่อผลผลิตการดำเนินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล (เมื่อสิ้นสุดโครงการ) โดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.98)  เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนมีคุณภาพในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=4.09) ข้อที่มีการปฏิบัติต่ำสุด คือ มีอุปกรณ์เพียงพอในการดำเนินงาน ควรจัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในการปรับปรุง-ซ่อมแซม วัสดุอุปกรณ์ที่ชารุดและอุปกรณ์ที่จำเป็นในการพัฒนา และ บริการข้อมูลให้แก่ครู นักเรียน และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (=3.78) (2) ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีความคิดเห็นการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการพัฒนางานบุคลากรโดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (=3.94) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่มีความพึงพอใจสูงสุด ได้แก่ ครู ผู้บริหาร และบุคลากร ในโรงเรียนมีคุณภาพในการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (=4.08) ข้อที่มีความพึงพอใจต่ำสุด คือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (=3.80)

 

ข้อเสนอแนะ

1. ควรนำผลการประเมินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ไปใช้เป็นข้อมูลการบริหารจัดการด้านการพัฒนาการบริหารงานบุคคล เพื่อวางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ  การปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีคุณภาพสู่สากล

2. ควรจัดกิจกรรมหรือโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูอันจะส่งผลให้ผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล ซึ่งได้รับประโยชน์และตรงกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3. ควรนำผลการประเมินโครงการพัฒนาครูสู่มาตรฐานสากล ของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพของครูในโรงเรียนหรือพัฒนางานพัฒนาบุคคลากรของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1ในปีต่อไป

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 736 คน กำลังออนไลน์