• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '13.59.38.41', 0, '92521987c83be42065e452926636de61', 122, 1716809961) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:da395354ff95aebe28e1f8472c18a1ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center;\"><strong>การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรศัพท์มือถือในห้องเรียนเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนให้ได้ผลดี</strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\"><strong><img src=\"/files/u9/poon001.jpg\" alt=\"\" width=\"450\" height=\"100\" /></strong></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;โดยครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;<img src=\"/files/u9/poonsak-spu_0.jpg\" alt=\"\" width=\"300\" height=\"400\" /></p>\n<blockquote><p style=\"text-align: left;\">&nbsp;</p>\n<h3>If you are not payingfor it, you are not the customer. You are the product.<br />Personal Information: Name Surname Address Telephone number<br />Your Network: Friend’s Name Telephone number/e-Mail<br />Internet Behavior<br />Interests<br />Location</h3>\n</blockquote>\n<p style=\"text-align: left;\"><strong>Social Media และ Social Network</strong></p>\n<p>ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติคำว่า</p>\n<p>“Social Media/สื่อสังคม” หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นสื่อกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่างๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้</p>\n<p>“Social Network/เครือข่ายสังคม” หมายถึง กลุ่มบุคคลผู้ติดต่อสื่อสารกันโดยผ่านสื่อสังคม ซึ่งนอกจากส่งข่าวสารข้อมูลแลกเปลี่ยนกันแล้ว ยังอาจร่วมกันทำกิจกรรมที่สนใจด้วยกัน</p>\n<p><strong>พฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดบน Social media จากการสำรวจของ www.consumerreports.org</strong></p>\n<div>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">40% ของผู้ใช้งาน เปิดเผยวันเดือนปีเกิด</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">25% ของผู้ใช้งาน ไม่ทราบหรือตระหนักเกี่ยวกับการใช้งานอย่างปลอดภัย เช่น การตั้งรหัสผ่าน การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">9% ของผู้ใช้งาน ถูกภัยคุกคามจากสังคมออนไลน์ (ติดไวรัส, โดนหลอกลวง และโดนขโมยข้อมูลส่วนบุคคล)</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ผู้ใช้งานบางส่วน ขาดวิจารณญาณในการเผยแพร่ในการแสดงความคิดเห็นส่งผลกระทบต่อการละเมิดกฎหมาย</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">เขียนแล้ว โพสแล้ว ลบไม่ได้</span></li>\n</ul>\n</div>\n<div><strong>พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนกับอินเทอร์เน็ต และ Social Media จากการสำรวจของมหาวิทยาลัย New Hampshire เผยแพร่บน www. guardchild.com&nbsp;</strong></div>\n<div>\n<div>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">44% ของเด็กยอมรับว่าได้เข้าถึงข้อมูลและสื่อประสม เช่น ภาพ วิดีโอ ที่ผู้ปกครองไม่อนุญาต และมีเพียง 28% ของผู้ปกครองทราบว่าเด็กสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสมได้</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">เด็กผู้หญิงมักมีพฤติกรรมในการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงรูปภาพของตนเองบนอินเทอร์เน็ตมากกว่าเด็กผู้ชาย</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">22% ของเด็กหญิงยอมรับว่าได้เคยเผยแพร่ภาพไม่เหมาะสมของตนเองบนอินเทอร์เน็ต</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">70% ของเด็ก อายุระหว่าง 7 ถึง 18 ปี เคยเข้าถึงเว็บไซต์ลามกอนาจารอย่างไม่ตั้งใจ และส่วนใหญ่เกิดจากค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตเพื่อทำการบ้าน</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ลูกค้าของเว็บไซต์ลามกอนาจารส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุระหว่าง 12-17 ปี</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">31% ของเด็กอายุระหว่าง 12-18 ปีให้ข้อมูลเท็จเรื่องอายุของตนเองเพื่อเข้าถึงบริการต่างๆ บนเว็บไซต์</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">96% ของเด็กวัยรุ่นมีการใช้งาน Social media เช่น&nbsp; Facebook, MySpace หรือ Online-Chat</span></li>\n</ul>\n</div>\n<div><strong>พึงระลึกไว้เสมอว่า&nbsp;</strong>ข้อความบน Social Media ที่สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ</div>\n<div>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ผู้เผยแพร่ต้องรับผิดชอบ ทั้งทางสังคมและกฎหมาย และอาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง การทำงาน และวิชาชีพของตน</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการเผยแพร่ประเด็นที่อ่อนไหว เช่น การเมือง ศาสนา</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">แบ่งแยกเรื่องส่วนตัวกับหน้าที่การงาน/การเรียน</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น อ้างถึงแหล่งที่มาเสมอ</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">แยก Account ของหน่วยงาน/องค์กร ออกจาก Account บุคคล</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ในการโพสต์ที่อาจเข้าใจผิดได้ว่าเป็นความเห็นจากองค์กร/หน่วยงาน ให้ระบุเสมอว่าเป็นความเห็นส่วนตัว</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ไม่ได้ห้าม แต่ให้ระวัง เพราะอาจส่งผลลบต่อตนเองหรือองค์กรได้</span></li>\n</ul>\n<p><strong>&nbsp;โทรศัพท์มือถือกับการเรียนการสอน&nbsp;</strong>ที่มา <a href=\"http://news.voicetv.co.th/global/29475.html\" title=\"http://news.voicetv.co.th/global/29475.html\">http://news.voicetv.co.th/global/29475.html</a></p>\n<div>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ความแตกต่างระหว่างสมาร์ทโฟนและโทรศัพท์มือถือ&nbsp;<br /></span>โทรศัพท์มือถือ คือโทรศัพท์ที่ ถือเอาคุณสมบัติการโทรเป็นหลัก แต่สมาร์ทโฟนจะเน้นแอปพลิเคชั่นเป็นหลัก เช่น การเล่นเกม การเข้าอินเทอร์เน็ต การจัดการไฟล์เอกสาร เป็นต้น ซึ่งจะมีคุณสมบัติต่างๆ มากมายครอบคลุมในทุกๆ ด้าน กล่าวโดยง่าย คือ สมาร์ทโฟนเป็น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถโทรศัพท์ได้และเล่นอินเตอร์เน็ตได้นั่นเอง</li>\n<li>บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งทำการวิจัยพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กอังกฤษ พบว่า ร้อยละ 49 ของเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี รู้สึกเศร้าเสียใจ เมื่อไม่ได้ใช้อินเทอร์เน็ต ขณะที่ เด็กวัยเพียง 2 ปี กลับถูกครอบงำด้วยไอแพด เนื่องจากพ่อแม่สอนให้เล่น<br />ที่มา <a href=\"http://news.voicetv.co.th/global/29475.html\" title=\"http://news.voicetv.co.th/global/29475.html\">http://news.voicetv.co.th/global/29475.html</a></li>\n<li>\n<div>ปัจจุบัน เราสามารถนำสมาร์ทโฟนมาช่วยในการจัดการเรียนการสอนได้<br />- การใช้สมาร์ทโฟนกับรหัส QR Code กับแหล่งเรียนรู้ออนไลน์<br />- การใช้สมาร์ทโฟนกับ Line<br />- การใช้สมาร์ทโฟนกับการวัดประเมินผล<br />- การใช้สมาร์ทโฟนกับโปรแกรมให้ความรู้ต่างๆ</div>\n</li>\n</ul>\n<p><strong><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\">การสร้างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนรูปแบบดิจิทัล</span></strong></p></div>\n<div><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\"><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\"></span></span>\n<p><strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;กรณีตัวอย่าง</strong></p>\n<p><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\"><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\"></span></span></p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เป็นขั้นตอนสุดท้ายของนักเรียนม.6 เรียนวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องการสร้างบล็อก(blog) ทุกคนต้องสร้างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน คนละ 1 เรื่อง ซึ่งเลือกจาก 4 กลุ่ม คือ พืช สัตว์ สถานที่ และอื่น ๆ ผลปรากฏว่านักเรียนจัดทำเรื่องพืช จำนวน 211 เรื่อง จากจำนวนนักเรียน 308 คน โดยดำเนินการจัดทำดังนี้</p>\n<p><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\"><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\"></span></span></p>\n<div>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">นักเรียนสำรวจแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่นักเรียนสนใจศึกษา</span></li>\n<li><span style=\"color: #000000;\" data-mce-mark=\"1\">ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ดังกล่าว</span></li>\n<li>\n<p>ดำเนินการจัดทำแหล่งเรียนรู้ประเภทพืช ดังนี้</p>\n<div>´นักเรียนสำรวจพืชทุกชนิดในโรงเรียน แล้วเลือกพืชที่นักเรียนสนใจศึกษา 1 ชนิด<br /><img src=\"/files/u9/Picture1.jpg\" alt=\"\" width=\"600\" height=\"448\" /><br />´ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับพืชดังกล่าว เช่น สิ่งพิมพ์ อินเทอร์เน็ต ผู้รู้ทั้งในและนอกโรงเรียน</div>\n</li>\n<li>\n<div><img src=\"/files/u9/Picture2.jpg\" alt=\"\" width=\"600\" height=\"448\" /><br /><img src=\"/files/u9/Picture3_1.jpg\" alt=\"\" width=\"600\" height=\"448\" /><br /><img src=\"/files/u9/Picture4.jpg\" alt=\"\" width=\"600\" height=\"448\" /><br /><br /></div>\n<div>´ถ่ายภาพพืชที่เลือกไว้ทุกส่วน หากส่วนใดไม่มี เช่น ยังไม่ออกดอก ก็นำภาพจากแหล่งข้อมูลอื่นมาประกอบ</div>\n<div>´รวบรวมข้อมูลที่ได้จัดทำลงในบล็อก เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน เข้ามาศึกษาหาความรู้&nbsp;</div>\n</li>\n</ul>\n</div>\n<p><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\"><span style=\"color: #0e191b;\" data-mce-mark=\"1\"></span></span></p></div>\n</div>\n</div>\n', created = 1716809971, expire = 1716896371, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:da395354ff95aebe28e1f8472c18a1ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรศัพท์มือถือในห้องเรียนเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนให้ได้ผลดี

รูปภาพของ ssspoonsak

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรศัพท์มือถือในห้องเรียนเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนให้ได้ผลดี

 โดยครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล

 

 

If you are not payingfor it, you are not the customer. You are the product.
Personal Information: Name Surname Address Telephone number
Your Network: Friend’s Name Telephone number/e-Mail
Internet Behavior
Interests
Location

Social Media และ Social Network

ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติคำว่า

“Social Media/สื่อสังคม” หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นสื่อกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่างๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้

“Social Network/เครือข่ายสังคม” หมายถึง กลุ่มบุคคลผู้ติดต่อสื่อสารกันโดยผ่านสื่อสังคม ซึ่งนอกจากส่งข่าวสารข้อมูลแลกเปลี่ยนกันแล้ว ยังอาจร่วมกันทำกิจกรรมที่สนใจด้วยกัน

พฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดบน Social media จากการสำรวจของ www.consumerreports.org

  • 40% ของผู้ใช้งาน เปิดเผยวันเดือนปีเกิด
  • 25% ของผู้ใช้งาน ไม่ทราบหรือตระหนักเกี่ยวกับการใช้งานอย่างปลอดภัย เช่น การตั้งรหัสผ่าน การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
  • 9% ของผู้ใช้งาน ถูกภัยคุกคามจากสังคมออนไลน์ (ติดไวรัส, โดนหลอกลวง และโดนขโมยข้อมูลส่วนบุคคล)
  • ผู้ใช้งานบางส่วน ขาดวิจารณญาณในการเผยแพร่ในการแสดงความคิดเห็นส่งผลกระทบต่อการละเมิดกฎหมาย
  • เขียนแล้ว โพสแล้ว ลบไม่ได้
พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนกับอินเทอร์เน็ต และ Social Media จากการสำรวจของมหาวิทยาลัย New Hampshire เผยแพร่บน www. guardchild.com 
  • 44% ของเด็กยอมรับว่าได้เข้าถึงข้อมูลและสื่อประสม เช่น ภาพ วิดีโอ ที่ผู้ปกครองไม่อนุญาต และมีเพียง 28% ของผู้ปกครองทราบว่าเด็กสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสมได้
  • เด็กผู้หญิงมักมีพฤติกรรมในการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงรูปภาพของตนเองบนอินเทอร์เน็ตมากกว่าเด็กผู้ชาย
  • 22% ของเด็กหญิงยอมรับว่าได้เคยเผยแพร่ภาพไม่เหมาะสมของตนเองบนอินเทอร์เน็ต
  • 70% ของเด็ก อายุระหว่าง 7 ถึง 18 ปี เคยเข้าถึงเว็บไซต์ลามกอนาจารอย่างไม่ตั้งใจ และส่วนใหญ่เกิดจากค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตเพื่อทำการบ้าน
  • ลูกค้าของเว็บไซต์ลามกอนาจารส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุระหว่าง 12-17 ปี
  • 31% ของเด็กอายุระหว่าง 12-18 ปีให้ข้อมูลเท็จเรื่องอายุของตนเองเพื่อเข้าถึงบริการต่างๆ บนเว็บไซต์
  • 96% ของเด็กวัยรุ่นมีการใช้งาน Social media เช่น  Facebook, MySpace หรือ Online-Chat
พึงระลึกไว้เสมอว่า ข้อความบน Social Media ที่สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ
  • ผู้เผยแพร่ต้องรับผิดชอบ ทั้งทางสังคมและกฎหมาย และอาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง การทำงาน และวิชาชีพของตน
  • ระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการเผยแพร่ประเด็นที่อ่อนไหว เช่น การเมือง ศาสนา
  • แบ่งแยกเรื่องส่วนตัวกับหน้าที่การงาน/การเรียน
  • ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น อ้างถึงแหล่งที่มาเสมอ
  • แยก Account ของหน่วยงาน/องค์กร ออกจาก Account บุคคล
  • ในการโพสต์ที่อาจเข้าใจผิดได้ว่าเป็นความเห็นจากองค์กร/หน่วยงาน ให้ระบุเสมอว่าเป็นความเห็นส่วนตัว
  • ไม่ได้ห้าม แต่ให้ระวัง เพราะอาจส่งผลลบต่อตนเองหรือองค์กรได้

 โทรศัพท์มือถือกับการเรียนการสอน ที่มา http://news.voicetv.co.th/global/29475.html

  • ความแตกต่างระหว่างสมาร์ทโฟนและโทรศัพท์มือถือ 
    โทรศัพท์มือถือ คือโทรศัพท์ที่ ถือเอาคุณสมบัติการโทรเป็นหลัก แต่สมาร์ทโฟนจะเน้นแอปพลิเคชั่นเป็นหลัก เช่น การเล่นเกม การเข้าอินเทอร์เน็ต การจัดการไฟล์เอกสาร เป็นต้น ซึ่งจะมีคุณสมบัติต่างๆ มากมายครอบคลุมในทุกๆ ด้าน กล่าวโดยง่าย คือ สมาร์ทโฟนเป็น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถโทรศัพท์ได้และเล่นอินเตอร์เน็ตได้นั่นเอง
  • บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งทำการวิจัยพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กอังกฤษ พบว่า ร้อยละ 49 ของเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี รู้สึกเศร้าเสียใจ เมื่อไม่ได้ใช้อินเทอร์เน็ต ขณะที่ เด็กวัยเพียง 2 ปี กลับถูกครอบงำด้วยไอแพด เนื่องจากพ่อแม่สอนให้เล่น
    ที่มา http://news.voicetv.co.th/global/29475.html
  • ปัจจุบัน เราสามารถนำสมาร์ทโฟนมาช่วยในการจัดการเรียนการสอนได้
    - การใช้สมาร์ทโฟนกับรหัส QR Code กับแหล่งเรียนรู้ออนไลน์
    - การใช้สมาร์ทโฟนกับ Line
    - การใช้สมาร์ทโฟนกับการวัดประเมินผล
    - การใช้สมาร์ทโฟนกับโปรแกรมให้ความรู้ต่างๆ

การสร้างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนรูปแบบดิจิทัล

         กรณีตัวอย่าง

         เป็นขั้นตอนสุดท้ายของนักเรียนม.6 เรียนวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่องการสร้างบล็อก(blog) ทุกคนต้องสร้างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน คนละ 1 เรื่อง ซึ่งเลือกจาก 4 กลุ่ม คือ พืช สัตว์ สถานที่ และอื่น ๆ ผลปรากฏว่านักเรียนจัดทำเรื่องพืช จำนวน 211 เรื่อง จากจำนวนนักเรียน 308 คน โดยดำเนินการจัดทำดังนี้

  • นักเรียนสำรวจแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่นักเรียนสนใจศึกษา
  • ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ดังกล่าว
  • ดำเนินการจัดทำแหล่งเรียนรู้ประเภทพืช ดังนี้

    ´นักเรียนสำรวจพืชทุกชนิดในโรงเรียน แล้วเลือกพืชที่นักเรียนสนใจศึกษา 1 ชนิด

    ´ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับพืชดังกล่าว เช่น สิ่งพิมพ์ อินเทอร์เน็ต ผู้รู้ทั้งในและนอกโรงเรียน




  • ´ถ่ายภาพพืชที่เลือกไว้ทุกส่วน หากส่วนใดไม่มี เช่น ยังไม่ออกดอก ก็นำภาพจากแหล่งข้อมูลอื่นมาประกอบ
    ´รวบรวมข้อมูลที่ได้จัดทำลงในบล็อก เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน เข้ามาศึกษาหาความรู้ 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 226 คน กำลังออนไลน์