• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8be0d8f15e3587ee5535ddd9a6a6ed6f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>          การตรวจหาไวรัส</b></span> \n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">วิธีในการตรวจหาไวรัส มี 3 แบบ ดังนี้<br />\n</span>          <b><span style=\"color: #ff00ff\">1. การสแกน</span> <br />\n</b>          <span style=\"color: #0000ff\">การใช้โปรแกรมในการตรวจหาไวรัส โดยการดึงโปรแกรมบางส่วนของตัวไวรัสมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล ส่วนที่ดึงมานั้นเรียกว่า ไวรัสซิกเนเจอร์ (Virus Signature) เมื่อสแกนเนอร์ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าตรวจหาไวรัสในหน่วยความจำ บู๊ตเซ็กเตอร์และไฟล์โดยใช้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่<br />\nข้อดี สามารถตรวจสอบหาไวรัสที่มาใหม่ได้ทันที<br />\nจุดอ่อน ฐานข้อมูลที่เก็บไวรัสซิกเนเจอร์จะต้องทันสมัยอยู่เสมอ และครอบคลุมไวรัสทุกตัว และมากที่สุดด้วย ดังนั้นการตรวจหาไวรัสแบบนี้จะขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ใช้สร้างไวรัสกับสแกนเนอร์ว่าใครจะเก่งกว่า </span>\n</p>\n<p>\n<b> </b><span style=\"color: #ff00ff\"><b>2. การตรวจการเปลี่ยนแปลง <br />\n</b></span>          <span style=\"color: #0000ff\">การหาค่าพิเศษ เรียกว่า เช็คซัม (Checksum) เกิดจากการนำเอาชุดคำสั่งและข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมมาคำนวณหรืออาจใช้ข้อมูลอื่นๆ ของไฟล์ ได้แก่ แอตริบิวส์ วันและเวลา เข้ามารวมในการคำนวณด้วย เนื่องจากทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำสั่งหรือข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมจะถูกแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง จึงสามารถนำเอาตัวเลขเหล่านี้มาผ่านขั้นตอนการคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งวิธีการคำนวณเพื่อหาค่าเช็คซัมนี้มีหลายแบบ และมีระดับการตรวจสอบแตกต่างกันออกไป เมื่อตัวโปรแกรมภายในเกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าไวรัสนั้นจะใช้วิธีการแทรกหรือเขียนทับก็ตาม เลขที่ได้จากการคำนวณครั้งใหม่จะเปลี่ยนไปจากที่คำนวณได้ก่อนหน้านี้<br />\nข้อดี สามารถตรวจจับไวรัสใหม่ๆ ได้ และยังมีความสามารถในการตรวจจับไวรัสประเภทโพลีเมอร์ฟิกไวรัสได้อีกด้วย แต่ยังยากสำหรับสทีลต์ไวรัส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดของโปรแกรมตรวจหาไวรัสเองด้วยว่าจะสามารถถูกหลอกโดยไวรัสประเภทนี้ได้หรือไม่<br />\nจุดอ่อน จะตรวจจับไวรัสได้ก็ต่อเมื่อไวรัสได้เข้าไปติดอยู่ในเครื่องแล้วเท่านั้น และค่อนข้างเสี่ยงในกรณีที่เริ่มมีการคำนวณหาค่าเช็คซัมเป็นครั้งแรก เครื่องที่ใช้ต้องแน่ใจว่าบริสุทธิ์พอ คือ ต้องไม่มีโปรแกรมใด ๆ ติดไวรัส มิฉะนั้นค่าที่หาได้จากการคำนวณที่รวมตัวไวรัสเข้าไปด้วย ซึ่งจะลำบากภายหลังในการที่จะตรวจหาไวรัสตัวนี้ต่อไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><b>3. การเฝ้าดู</b></span> <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">เป็นการสร้างโปรแกรมตรวจจับไวรัสสามารเฝ้าดูการทำงานของเครื่องได้ตลอดเวลา เรียกว่า เรซิเดนท์หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ โดยเทคนิคของการเฝ้าดูนั้นอาจใช้วิธีการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลงหรือสองแบบรวมกันก็ได้ หลักการทำงานโดยทั่วไป คือ เมื่อซอฟท์แวร์ตรวจจับไวรัสที่ใช้วิธีนี้ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าไปตรวจในหน่วยความจำของเครื่องก่อนว่ามีไวรัสติดอยู่หรือไม่ โดยใช้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่ในฐานข้อมูลจากนั้นจึงค่อยนำตัวเองเข้าไปฝังอยู่ในหน่วยความจำและต่อไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมเข้ามาใช้งาน โปรแกรมเฝ้าดูนี้ก็จะเข้าไปตรวจโปรแกรมนั้นก่อน โดยใช้เทคนิคการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลง เพื่อหาไวรัส ถ้าไม่มีปัญหาก็จะอนุญาตให้โปรแกรมนั้นขึ้นมาทำงานได นอกจากนี้โปรแกรมตรวจจับไวรัสบางตัวยังสมารถตรวจสอบขณะที่มีการคัดลอกไฟล์ได้อีกด้วย<br />\nข้อดี เมื่อมีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมาโปรแกรมนั้นจะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้งโดยอัตโนมัติ ซึ่งถ้าเป็นการใช้สแกนเนอร์จะสามารถทราบได้ว่าโปรแกรมใดติดไวรัสอยู่ก็ต่อเมื่อทำการเรียกสแกนเนอร์นั้นขึ้นมาทำงานก่อนเท่านั้น<br />\nข้อเสีย จะมีเวลาที่เสียไปสำหรับการตรวจหาไวรัสก่อนทุกครั้ง และเนื่องจากเป็นโปรแกรมแบบเรซิเตนท์หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ จึงจำเป็นจะต้องใช้หน่วยความจำส่วนหนึ่งของเครื่องตลอดเวลาเพื่อทำงาน ทำให้หน่วยความจำในเครื่องเหลือน้อยลง และเช่นเดียวกับสแกนเนอร์ก็คือ จำเป้นจะต้องมีการปรับปรุงฐานข้อมูลของไวรัสซิกเนเจอร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ </span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff0000\"></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n', created = 1715475051, expire = 1715561451, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8be0d8f15e3587ee5535ddd9a6a6ed6f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไวรัสคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ naowarat

          การตรวจหาไวรัส 


วิธีในการตรวจหาไวรัส มี 3 แบบ ดังนี้
          1. การสแกน
          การใช้โปรแกรมในการตรวจหาไวรัส โดยการดึงโปรแกรมบางส่วนของตัวไวรัสมาเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล ส่วนที่ดึงมานั้นเรียกว่า ไวรัสซิกเนเจอร์ (Virus Signature) เมื่อสแกนเนอร์ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าตรวจหาไวรัสในหน่วยความจำ บู๊ตเซ็กเตอร์และไฟล์โดยใช้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่
ข้อดี สามารถตรวจสอบหาไวรัสที่มาใหม่ได้ทันที
จุดอ่อน ฐานข้อมูลที่เก็บไวรัสซิกเนเจอร์จะต้องทันสมัยอยู่เสมอ และครอบคลุมไวรัสทุกตัว และมากที่สุดด้วย ดังนั้นการตรวจหาไวรัสแบบนี้จะขึ้นอยู่กับเทคนิคที่ใช้สร้างไวรัสกับสแกนเนอร์ว่าใครจะเก่งกว่า

 2. การตรวจการเปลี่ยนแปลง
          การหาค่าพิเศษ เรียกว่า เช็คซัม (Checksum) เกิดจากการนำเอาชุดคำสั่งและข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมมาคำนวณหรืออาจใช้ข้อมูลอื่นๆ ของไฟล์ ได้แก่ แอตริบิวส์ วันและเวลา เข้ามารวมในการคำนวณด้วย เนื่องจากทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคำสั่งหรือข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมจะถูกแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง จึงสามารถนำเอาตัวเลขเหล่านี้มาผ่านขั้นตอนการคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้ ซึ่งวิธีการคำนวณเพื่อหาค่าเช็คซัมนี้มีหลายแบบ และมีระดับการตรวจสอบแตกต่างกันออกไป เมื่อตัวโปรแกรมภายในเกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าไวรัสนั้นจะใช้วิธีการแทรกหรือเขียนทับก็ตาม เลขที่ได้จากการคำนวณครั้งใหม่จะเปลี่ยนไปจากที่คำนวณได้ก่อนหน้านี้
ข้อดี สามารถตรวจจับไวรัสใหม่ๆ ได้ และยังมีความสามารถในการตรวจจับไวรัสประเภทโพลีเมอร์ฟิกไวรัสได้อีกด้วย แต่ยังยากสำหรับสทีลต์ไวรัส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดของโปรแกรมตรวจหาไวรัสเองด้วยว่าจะสามารถถูกหลอกโดยไวรัสประเภทนี้ได้หรือไม่
จุดอ่อน จะตรวจจับไวรัสได้ก็ต่อเมื่อไวรัสได้เข้าไปติดอยู่ในเครื่องแล้วเท่านั้น และค่อนข้างเสี่ยงในกรณีที่เริ่มมีการคำนวณหาค่าเช็คซัมเป็นครั้งแรก เครื่องที่ใช้ต้องแน่ใจว่าบริสุทธิ์พอ คือ ต้องไม่มีโปรแกรมใด ๆ ติดไวรัส มิฉะนั้นค่าที่หาได้จากการคำนวณที่รวมตัวไวรัสเข้าไปด้วย ซึ่งจะลำบากภายหลังในการที่จะตรวจหาไวรัสตัวนี้ต่อไป

3. การเฝ้าดู
เป็นการสร้างโปรแกรมตรวจจับไวรัสสามารเฝ้าดูการทำงานของเครื่องได้ตลอดเวลา เรียกว่า เรซิเดนท์หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ โดยเทคนิคของการเฝ้าดูนั้นอาจใช้วิธีการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลงหรือสองแบบรวมกันก็ได้ หลักการทำงานโดยทั่วไป คือ เมื่อซอฟท์แวร์ตรวจจับไวรัสที่ใช้วิธีนี้ถูกเรียกขึ้นมาทำงานก็จะเข้าไปตรวจในหน่วยความจำของเครื่องก่อนว่ามีไวรัสติดอยู่หรือไม่ โดยใช้ไวรัสซิกเนเจอร์ที่มีอยู่ในฐานข้อมูลจากนั้นจึงค่อยนำตัวเองเข้าไปฝังอยู่ในหน่วยความจำและต่อไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมเข้ามาใช้งาน โปรแกรมเฝ้าดูนี้ก็จะเข้าไปตรวจโปรแกรมนั้นก่อน โดยใช้เทคนิคการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลง เพื่อหาไวรัส ถ้าไม่มีปัญหาก็จะอนุญาตให้โปรแกรมนั้นขึ้นมาทำงานได นอกจากนี้โปรแกรมตรวจจับไวรัสบางตัวยังสมารถตรวจสอบขณะที่มีการคัดลอกไฟล์ได้อีกด้วย
ข้อดี เมื่อมีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมาโปรแกรมนั้นจะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้งโดยอัตโนมัติ ซึ่งถ้าเป็นการใช้สแกนเนอร์จะสามารถทราบได้ว่าโปรแกรมใดติดไวรัสอยู่ก็ต่อเมื่อทำการเรียกสแกนเนอร์นั้นขึ้นมาทำงานก่อนเท่านั้น
ข้อเสีย จะมีเวลาที่เสียไปสำหรับการตรวจหาไวรัสก่อนทุกครั้ง และเนื่องจากเป็นโปรแกรมแบบเรซิเตนท์หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ จึงจำเป็นจะต้องใช้หน่วยความจำส่วนหนึ่งของเครื่องตลอดเวลาเพื่อทำงาน ทำให้หน่วยความจำในเครื่องเหลือน้อยลง และเช่นเดียวกับสแกนเนอร์ก็คือ จำเป้นจะต้องมีการปรับปรุงฐานข้อมูลของไวรัสซิกเนเจอร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ

สร้างโดย: 
ครูเนาวรัตน์ ใจการุณ โรงเรียนปิยะบุตร์ จังหวัดลพบุรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 287 คน กำลังออนไลน์