• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c930df611fddf7da765c9e5fefa42fec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span class=\"style3\"><strong>มาตรฐานระบบเครือข่าย WAN</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style3\"><strong>มาตรฐานเครือข่าย WAN - X.25</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style3\"><strong>X.25<br />\n</strong>เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของเครือข่ายแบบเก่า ได้รับการออกแบบโดย CCITT ประมาณปี ค.ศ.1970 เพื่อใช้เป็นส่วนติดต่อระหว่างระบบเครือข่ายสาธารณะแบบแพ็กเก็ตสวิตช์ (Packet Switching) กับผุ้ใช้ระบบ X.25 เป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (Connection-Oriented) ที่สนับสนุนการเชื่อมต่อวงจรสื่อสารแบบ Switched Virtual Circuit (SVC) และ Permanent Virtual Circuit (PVC)<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"style3\"><strong>มาตรฐานเครือข่าย WAN - Frame Relay</strong></span>\n</p>\n<p><span class=\"style3\"></span></p>\n<p>\n<strong>Frame Relay</strong><br />\nเฟรมรีเลย์ เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อจาก X.25 อีกทีหนึ่งในการส่งข้อมูล เฟรมรีเลย์จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่จุดปลายทาง ทำงานแบบ Packet Switching\n</p>\n<p>\n<strong>มาตรฐานเครือข่าย WAN - ATM</strong>\n</p>\n<p>\n<strong>Frame Relay</strong><br />\n(Asynchronous Transfer Mode) เป็นระบบเครือข่ายความเร็วสูง ปัจจุบันระบบองค์กรใหญ่ๆ นิยมใช้อย่างแพร่หลายในวงอุตสาหกรรมการสื่อสาร โดยระบบ ATM จะมีการส่งข้อมูลจำนวนน้อยๆ ที่มีขนาดคงที่เรียกว่า เซลล์ (Cell)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>มาตรฐาน OSI</strong>\n</p>\n<p>\nองค์กรมาตรฐานสากล ISO (International Organization for Standardization) ได้ทำการศึกษาและหาแนวทางในการกำหนดมาตรฐานของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในระบบเครือข่าย โดยตั้งชื่อมาตรฐานด้านเครือข่ายว่า OSI (Open System Interconnection) เพื่อให้เครือข่ายที่ถูกสร้างจากบริษัทที่แตกต่างกัน สามารถเชื่อมโยงและสื่อสารถึงกันได้อย่างไม่มีปัญหา โดยการแบ่งตามโครงสร้างลักษณะการส่งผ่านข้อมูลออกเป็นชั้นๆ ทั้งหมดได้ 7 ชั้น (Layer)\n</p>\n<p>\n1. ระดับกายภาพ (Physical Layer) เป็นระดับต่ำสุด จะมองในแง่ของสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งข้อมูลระหว่างกัน รวมทั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อจริงๆ อุปกรณ์ระดับนี้เช่น สาย UTP, Hub, Repeater\n</p>\n<p>\n2. ระดับเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link Layer) เป็นระดับที่ใช้รับส่งข้อมูลผ่านตัวกลาง (Media) และจัดรูปแบบของเฟรม (Frame) เพื่อเชื่อมต่อกับระดับที่ 3 ระดับเชื่อมข้อมูลยังแบ่งออกเป็นสองชั้นย่อยคือ Logical Link Control (LLC) และ Media Access Control (MAC) อุปกรณ์ที่ทำงานในชั้นนี้ เช่น Bridge, Switch\n</p>\n<p>\n3. ระดับเครือข่าย (Network Layer) เป็นระดับที่มองข้อมูลที่แพ็กเกจ (Package) โดยที่แพ็กเกจอาจจะใหญ่หรือเล็ก จะเป็นข้อมูลที่ถูกซอยย่อยให้ส่งไปในเครือข่าย ซึ่งข้อมูลบางส่วนในแพ็กเกจ ใช้เป็นตัวช่วยบอกเส้นทางที่แพ็กเกจนั้นเดินทางไป อุปกรณ์ที่ทำงานในชั้นนี้ เช่น Router, Switch Layer3\n</p>\n<p>\n4. ระดับขนถ่าย (Transport Layer) เป็นระดับที่ใช้ในการควบคุมความผิดพลาดในการรับ-ส่งข้อมูลจากต้นทางไปปลายทาง\n</p>\n<p>\n5. ระดับเปิด-ปิด (Session Layer) เป็นระดับที่ใช้กำหนดวิธีการควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างผู้รับช้อมูลและผู้ส่งข้อมูล ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดการสื่อสาร\n</p>\n<p>\n6. ระดับปรับข้อมูล (Presentation Layer) เป็นระดับที่ดูแลเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างแอพลิเคชั่นของคอมพิวเตอร์เครื่องต่างๆ ในเครือข่าย\n</p>\n<p>\n7. ระดับประยุกต์ (Application Layer) เป็นระดับที่จัดการเกี่ยวกับแอพลิเคชั่น เช่น การเข้าถึงฐานข้อมูล หรือการรับ-ส่งอีเมล์\n</p>\n<p>\nมาตรฐาน OSI เป็นมาตรฐานที่ถูกองในทางอุดมคติมากกว่า ส่วนมากทำให้เราทราบว่า อุปกรณ์แต่ละตัวทำงานอยู่ในชั้นใด ทำให้มทองภาพเครือข่ายกว้างๆ ได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"32\" width=\"32\" src=\"/images/content5-9_clip_image001.gif\" /><img height=\"358\" width=\"432\" src=\"/images/content5-9_clip_image002.gif\" alt=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/20/wired/5/osi-peer-to-peer.gif\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>TCP/IP Model</strong>\n</p>\n<p>\nชั้นที่ 1 Network Interface Layer เป็นชั้นที่กำหนดคุณลักษณะของตัวกลางที่ใช้ส่งผ่านข้อมูล อัตราการส่งข้อมูลทางกายภาพ การเข้ารหัสสัญญาณ ไปจนถึงการแปลข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้ามาเป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์ โปรโตคอลระดับนี้ เช่น Ethernet, Fast Ethernet, Token-Ring, FDDI เทียบได้กับมาตรฐาน OSI Model ชั้น Physical Layer กับ data Link Layer สองชั้นรวมกัน\n</p>\n<p>\nชั้นที่ 2 Internet Layer ทำหน้าที่ในการค้นหาเส้นทาง ส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง อาจผ่านหนึ่งเครือข่ายหรือมากกว่า ที่ต่อเชื่อมกันโดยใช้เร้าเตอร์ โปรโตคอลในระดับนี้ได้แก่ IP, ICMP, IGMP\n</p>\n<p>\nชั้นที่ 3 transport Layer หรือ Host-to-Host ทำหน้าที่จัดบริการส่งข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โปรโตคอลที่ทำงานในชั้นนี้คือ TCP และ UDP\n</p>\n<p>\nชั้นที่ 4 Application Layer เป็นชั้นที่ประยุกต์ใช้งานจริงทำหน้าที่จัดเตรียมการติดต่อระหว่าง Process หรือ Application ที่อยู่บนโฮสต์ไกลกัน เช่น FTP, SMTP, TelNet, DNS\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715186103, expire = 1715272503, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c930df611fddf7da765c9e5fefa42fec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มาตรฐานเครือข่าย

มาตรฐานระบบเครือข่าย WAN

มาตรฐานเครือข่าย WAN - X.25

X.25
เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของเครือข่ายแบบเก่า ได้รับการออกแบบโดย CCITT ประมาณปี ค.ศ.1970 เพื่อใช้เป็นส่วนติดต่อระหว่างระบบเครือข่ายสาธารณะแบบแพ็กเก็ตสวิตช์ (Packet Switching) กับผุ้ใช้ระบบ X.25 เป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (Connection-Oriented) ที่สนับสนุนการเชื่อมต่อวงจรสื่อสารแบบ Switched Virtual Circuit (SVC) และ Permanent Virtual Circuit (PVC)

มาตรฐานเครือข่าย WAN - Frame Relay

Frame Relay
เฟรมรีเลย์ เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อจาก X.25 อีกทีหนึ่งในการส่งข้อมูล เฟรมรีเลย์จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่จุดปลายทาง ทำงานแบบ Packet Switching

มาตรฐานเครือข่าย WAN - ATM

Frame Relay
(Asynchronous Transfer Mode) เป็นระบบเครือข่ายความเร็วสูง ปัจจุบันระบบองค์กรใหญ่ๆ นิยมใช้อย่างแพร่หลายในวงอุตสาหกรรมการสื่อสาร โดยระบบ ATM จะมีการส่งข้อมูลจำนวนน้อยๆ ที่มีขนาดคงที่เรียกว่า เซลล์ (Cell)

 

มาตรฐาน OSI

องค์กรมาตรฐานสากล ISO (International Organization for Standardization) ได้ทำการศึกษาและหาแนวทางในการกำหนดมาตรฐานของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในระบบเครือข่าย โดยตั้งชื่อมาตรฐานด้านเครือข่ายว่า OSI (Open System Interconnection) เพื่อให้เครือข่ายที่ถูกสร้างจากบริษัทที่แตกต่างกัน สามารถเชื่อมโยงและสื่อสารถึงกันได้อย่างไม่มีปัญหา โดยการแบ่งตามโครงสร้างลักษณะการส่งผ่านข้อมูลออกเป็นชั้นๆ ทั้งหมดได้ 7 ชั้น (Layer)

1. ระดับกายภาพ (Physical Layer) เป็นระดับต่ำสุด จะมองในแง่ของสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งข้อมูลระหว่างกัน รวมทั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อจริงๆ อุปกรณ์ระดับนี้เช่น สาย UTP, Hub, Repeater

2. ระดับเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link Layer) เป็นระดับที่ใช้รับส่งข้อมูลผ่านตัวกลาง (Media) และจัดรูปแบบของเฟรม (Frame) เพื่อเชื่อมต่อกับระดับที่ 3 ระดับเชื่อมข้อมูลยังแบ่งออกเป็นสองชั้นย่อยคือ Logical Link Control (LLC) และ Media Access Control (MAC) อุปกรณ์ที่ทำงานในชั้นนี้ เช่น Bridge, Switch

3. ระดับเครือข่าย (Network Layer) เป็นระดับที่มองข้อมูลที่แพ็กเกจ (Package) โดยที่แพ็กเกจอาจจะใหญ่หรือเล็ก จะเป็นข้อมูลที่ถูกซอยย่อยให้ส่งไปในเครือข่าย ซึ่งข้อมูลบางส่วนในแพ็กเกจ ใช้เป็นตัวช่วยบอกเส้นทางที่แพ็กเกจนั้นเดินทางไป อุปกรณ์ที่ทำงานในชั้นนี้ เช่น Router, Switch Layer3

4. ระดับขนถ่าย (Transport Layer) เป็นระดับที่ใช้ในการควบคุมความผิดพลาดในการรับ-ส่งข้อมูลจากต้นทางไปปลายทาง

5. ระดับเปิด-ปิด (Session Layer) เป็นระดับที่ใช้กำหนดวิธีการควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างผู้รับช้อมูลและผู้ส่งข้อมูล ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดการสื่อสาร

6. ระดับปรับข้อมูล (Presentation Layer) เป็นระดับที่ดูแลเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างแอพลิเคชั่นของคอมพิวเตอร์เครื่องต่างๆ ในเครือข่าย

7. ระดับประยุกต์ (Application Layer) เป็นระดับที่จัดการเกี่ยวกับแอพลิเคชั่น เช่น การเข้าถึงฐานข้อมูล หรือการรับ-ส่งอีเมล์

มาตรฐาน OSI เป็นมาตรฐานที่ถูกองในทางอุดมคติมากกว่า ส่วนมากทำให้เราทราบว่า อุปกรณ์แต่ละตัวทำงานอยู่ในชั้นใด ทำให้มทองภาพเครือข่ายกว้างๆ ได้

 

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/20/wired/5/osi-peer-to-peer.gif

 

TCP/IP Model

ชั้นที่ 1 Network Interface Layer เป็นชั้นที่กำหนดคุณลักษณะของตัวกลางที่ใช้ส่งผ่านข้อมูล อัตราการส่งข้อมูลทางกายภาพ การเข้ารหัสสัญญาณ ไปจนถึงการแปลข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้ามาเป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์ โปรโตคอลระดับนี้ เช่น Ethernet, Fast Ethernet, Token-Ring, FDDI เทียบได้กับมาตรฐาน OSI Model ชั้น Physical Layer กับ data Link Layer สองชั้นรวมกัน

ชั้นที่ 2 Internet Layer ทำหน้าที่ในการค้นหาเส้นทาง ส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง อาจผ่านหนึ่งเครือข่ายหรือมากกว่า ที่ต่อเชื่อมกันโดยใช้เร้าเตอร์ โปรโตคอลในระดับนี้ได้แก่ IP, ICMP, IGMP

ชั้นที่ 3 transport Layer หรือ Host-to-Host ทำหน้าที่จัดบริการส่งข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โปรโตคอลที่ทำงานในชั้นนี้คือ TCP และ UDP

ชั้นที่ 4 Application Layer เป็นชั้นที่ประยุกต์ใช้งานจริงทำหน้าที่จัดเตรียมการติดต่อระหว่าง Process หรือ Application ที่อยู่บนโฮสต์ไกลกัน เช่น FTP, SMTP, TelNet, DNS

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 397 คน กำลังออนไลน์