• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:49f53db2e5da9811177fce839c1d2e8b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>เครือข่ายแบบบัส (Bus topology)</strong>\n</p>\n<p>\n  สำหรับระบบ LAN เราเรียกว่าเป็นระบบ ETHERNET สำหรับระบบ MAINFRAME ENVIRONMENT เราเรียกระบบ MULTI – DROP   เป็นรูปแบบที่มีผู้นิยมใช้มากแบบหนึ่ง เพราะมีโครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้องใช้อุปกรณ์สลับสาย การเชื่อมต่อมีลักษณะเป็นแบบหลายจุด สถานีทุกสถานีรวมทั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียว เรียกว่า แบ็กโบน (Backbone) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงสามารถทำให้การส่งข้อมูลไปถึงทุกสถานีได้ผ่านสายแบ็กโบนนี้ การจัดส่งวิธีนี้ต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน โดยวิธีการที่ใช้อาจเป็นการแบ่งช่วงเวลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน<br />\n           ข้อเสียของการเชื่อมต่อชนิดนี้คือ หากสายมีการขาด ณ ตำแหน่งใดๆ ก็จะส่งผลให้ระบบต้องชะงักทันที และไม่สามารถใช้งานได้ นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่อยู่ปลายทางทั้งสองด้านจะต้องปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Terminal เพื่อใช้เป็นตัวดูดซับสัญญาณที่วิ่งมาจนปลายสุดไม่ให้สะท้อนกลับ (Reflection)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"304\" width=\"250\" src=\"/images/content4-2_clip_image001.gif\" />\n</p>\n', created = 1728224829, expire = 1728311229, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:49f53db2e5da9811177fce839c1d2e8b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รูปร่างเครือข่าย

เครือข่ายแบบบัส (Bus topology)

  สำหรับระบบ LAN เราเรียกว่าเป็นระบบ ETHERNET สำหรับระบบ MAINFRAME ENVIRONMENT เราเรียกระบบ MULTI – DROP   เป็นรูปแบบที่มีผู้นิยมใช้มากแบบหนึ่ง เพราะมีโครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้องใช้อุปกรณ์สลับสาย การเชื่อมต่อมีลักษณะเป็นแบบหลายจุด สถานีทุกสถานีรวมทั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียว เรียกว่า แบ็กโบน (Backbone) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงสามารถทำให้การส่งข้อมูลไปถึงทุกสถานีได้ผ่านสายแบ็กโบนนี้ การจัดส่งวิธีนี้ต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน โดยวิธีการที่ใช้อาจเป็นการแบ่งช่วงเวลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน
           ข้อเสียของการเชื่อมต่อชนิดนี้คือ หากสายมีการขาด ณ ตำแหน่งใดๆ ก็จะส่งผลให้ระบบต้องชะงักทันที และไม่สามารถใช้งานได้ นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่อยู่ปลายทางทั้งสองด้านจะต้องปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Terminal เพื่อใช้เป็นตัวดูดซับสัญญาณที่วิ่งมาจนปลายสุดไม่ให้สะท้อนกลับ (Reflection)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 450 คน กำลังออนไลน์