• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:732c2c8ed57eb57c25957ca2ef10bea6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ผลงาน<span>     </span>ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการวัด การจัดแบบรูปที่ได้รับการจัด</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย<span>   </span>(</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">Best Practice<span lang=\"TH\">)</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ผู้นำเสนอผลงาน<span>   </span>นางสาวชาลีมาศ<span>  </span>หาระบุตร </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ<o:p></o:p></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">โรงเรียนอุบลวิทยาคม<span>  </span>สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">อุบลราชธานี เขต </span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">1<o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">หลักการเหตุผล<span>  </span>/ ความเป็นมา</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งของการจัดกระบวนการเรียนการสอนในระดับปฐมวัย คือ การคำนึงการให้ความสำคัญกับพัฒนาการของเด็กซึ่งเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า 6 ปีแรกของชีวิตเป็นช่วงที่เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างรวดเร็วเป็นวัยที่สำคัญที่สุดสำหรับพัฒนาการของชีวิตมนุษย์<span>  </span>เพราะเป็นรากฐานแห่งการพัฒนาศักยภาพ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span>    </span><span lang=\"TH\"><span> </span>เด็กปฐมวัยจึงเป็นวัยที่ควรได้รับการพัฒนาทุกด้าน โดยเฉพาะพัฒนาการทางด้านสติปัญญาเป็นพัฒนาการด้านหนึ่งที่มีความสำคัญมาก</span><span>  </span><span lang=\"TH\"><span> </span>เพราะจากการศึกษาของนักการศึกษาและข้อค้นพบทางการแพทย์พบว่า<span>  </span>พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก<span>  </span>พัฒนาอย่างรวดเร็วมากในช่วง 4 ปีแรกของชีวิต<span>  </span>เด็กมีความเจริญเติบโตทางด้านสมองถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของผู้ใหญ่ และเมื่อเข้าสู่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 8 ปี จะพัฒนาเพิ่มขึ้นอีก 30 เปอร์เซ็นต์ </span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ดังนั้น<span>  </span>คุณครูจึงมีความสนใจที่จะส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เด็กได้แสดงออกทางความคิดอย่างเสรี ด้วยการลงมือปฏิบัติงานตามความสนใจของตนกับวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลายน่าสนใจและสนุกสนานเพลิดเพลิน<span>  </span>โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการวัด การจัดแบบรูปของเด็กปฐมวัย<span>  </span>ทั้งนี้เพื่อเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ได้อย่างคุ้มค่า เหมาะสม สอดคล้องกับวัย ความสนใจ ความต้องการ และสภาพท้องถิ่น</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">วัตถุประสงค์</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการวัด การจัดแบบรูปของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์<span>  </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span></span><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">แนวคิด/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span>                </span></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">คณิตศาสตร์เป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์<span>  </span>เมื่อสังเกตในการเล่นและการพูดคุยของเด็กมักจะมีเรื่องคณิตศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องมีการพูดถึงการเปรียบเทียบ การวัด การจัดประเภทและตัวเลข<span>  </span>(นิตยา<span>  </span>ประพฤติกิจ. 2541 </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">:<span lang=\"TH\"> 3-4)<span>   </span>ทักษะการวัด เป็นทักษะที่จำเป็นเพื่อหาข้อมูลเชิงปริมาณทางด้านกายภาพ<span>  </span>และไม่ใช่ด้านกายภาพ</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ซึ่งการวัดสำหรับเด็กต้องอาศัยพื้นฐานการสังเกต<span>   </span>การเปรียบเทียบ การฝึกฝนการวัด<span>  </span>เด็กควรมีโอกาสจะได้รับประสบการณ์ตรงเพื่อจัดกระทำกับวัสดุ<span>   </span>เพื่อที่จะสามารถเลือกเครื่องมือและบอกเหตุผลของการใช้เครื่องมือ ในการวัดต่อไป<span>  </span>ทำให้เด็กรับรู้เกี่ยวกับเรื่องของการจำแนกของออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะ<span>  </span>หรือขนาด ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันของเด็ก (ทิพากร<span>  </span>บุญยกุลศรีรุ่ง. 2547</span> :<span lang=\"TH\"> 125)<span>   </span>การทำแบบรูปเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้เด็กพัฒนาทักษะการสังเกตแบบรูป<span>  </span>ลักษณะของสิ่งต่างๆ<span>   </span>เพื่อที่เด็กจะสามารถทำตามแบบ<span>  </span>หรือคิดรูปแบบใหม่ขึ้นเอง(ทิพากร<span>  </span>บุญยกุลศรีรุ่ง. 2547</span>:<span lang=\"TH\"> 103)<span>   </span>การจดจำแบบรูปได้จึงนับว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาคณิตศาสตร์ของเด็กเพราะกิจกรรมเช่นนี้จะช่วยพัฒนาการจำแนกด้านการใช้สายตา<span>  </span>และการได้ยินของเด็ก (นิตยา<span>  </span>ประพฤติกิจ. 2541 </span>: <span lang=\"TH\">136) การเรียนคณิตศาสตร์เป็นวิชาของการคิดอย่างมีเหตุผล<span>  </span>การจัดกิจกรรมให้เด็กได้ฝึกอย่างสม่ำเสมอ และใช้กระบวนการคิดที่ถูกต้องจะช่วยให้เด็กเกิดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ได้ดี<span>                                                                                                                            </span></span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ดังนั้น ในการที่จะช่วยพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย<span>  </span>ครูผู้สอนสามารถเลือกจัดกิจกรรมอย่างได้หลากหลาย<span>  </span>อาทิ กิจกรรมการเล่านิทาน<span>  </span>กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ<span>  </span>เกมการศึกษา<span>  </span>และกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์<span>    </span>กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมหลักที่สำคัญกิจกรรมหนึ่งในหลายกิจกรรมที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมความพร้อม และส่งเสริมทักษะด้านต่างๆให้เด็กปฐมวัย ในการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย<span>   </span>ส่วนใหญ่จึงนิยมจัดในลักษณะของการบูรณาการเนื้อหาวิชาหรือทักษะที่ต้องการปลูกฝังโดยใช้ศิลปะเป็นเครื่องมือและได้มีการนำสื่อวัสดุประเภทต่างๆมาใช้ในชิ้นงานเพื่อให้เด็กเกิดพัฒนาการและการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น<span>  </span>นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ<span>  </span>จงรัก<span>  </span>อ่วมมีเพียร (2547 </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">:<span lang=\"TH\"> บทคัดย่อ)<span>  </span>พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสื่อผสม มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น<span>  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"><span></span></span><b><o:p></o:p></b></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">การดำเนินงาน/กระบวนการ/วิธีการปฏิบัติ</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ </span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">3. ดำเนินการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์<span>  </span>จำนวน 18 แผน<span>  </span>โดยกำหนด<o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">รูปแบบของการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ซึ่งประกอบไปด้วย<span>  </span>ชื่อกิจกรรม<span>  </span>จุดประสงค์<span>  </span>อุปกรณ์<span>  </span>ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรม<span>  </span>3 ขั้นตอนดังนี้<o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">  3.1<span>  </span>ขั้นนำ<span>  </span>ครูนำเด็กปฐมวัยเข้าสู่เรื่องราวด้วยการสนทนา<span>  </span>ใช้คำถาม<span>  </span>และสร้างข้อตกลงร่วมกัน ระหว่างครูกับเด็กปฐมวัยในการปฏิบัติกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์<span>              </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span></span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">3.2<span>  </span>ขั้นดำเนินกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ครูแนะนำ<span>  </span>วัสดุ<span>  </span>อุปกรณ์<span>  </span>สาธิตการทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์<span>  </span>ในระหว่างนั้นมีการสนทนาซักถามโดยครูคอยใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กปฐมวัยใช้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวัด<span>  </span>การจัดรูปแบบ<span>   </span>เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยทุกครั้ง<span>  </span>แล้วนำไปสร้างผลงานของตนเองตามจุดประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมได้</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: large\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\">3<strong>.3<span>  </span>ขั้นสรุป เด็กปฐมวัยและครูร่วมกันสนทนา<span>  </span>ทบทวนการทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์<span>  </span>และการสร้างผลงานศิลปะสร้างสรรค์ที่มีความสัมพันธ์กับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ตามจุดประสงค์ของกิจกรรมนั้น</strong><span>                          </span></span></span><span style=\"font-size: large\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">แผนการดำเนินงาน/ระยะเวลาในการดำเนินงาน</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">การดำเนินงานในภาคเรียนที่ 1<span>   </span>เป็นเวลา<span>  </span>6<span>  </span>สัปดาห์<span>  </span>สัปดาห์ละ 3 วัน<span>    </span>ครั้งละ<span>  </span>40<span>  </span>นาที ในช่วงเวลา 09.00 – 09.40 น.<span>   </span>รวม<span>  </span>18<span>  </span>ครั้ง</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ผลการปฏิบัติงาน<o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">จากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย<span>  </span>ระยะที่ประสบผลสำเร็จนี้พบว่าเด็กปฐมวัยมีความสนใจและสนุกสนานกับการวัดและการจัดรูปแบบผ่านผลงานและในชีวิตประจำวันมากขึ้น<span>   </span>สังเกตได้จากการที่เด็กปฐมวัยนำทักษะการวัด<span>  </span>และทักษะการจัดรูปแบบมาใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆ ที่นอกเหนือจากกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ โดยครูมีบทบาทในการกระตุ้นให้เด็กปฐมวัยใช้ทักษะการวัด และทักษะการจัดรูปแบบด้วยความสนุกสนานอย่างไม่รู้ตัว<span>   </span>สอดคล้องกับ ทิพากร<span>  </span>บุญยกุลศรีรุ่ง (2547:22) กล่าวว่า<span>   </span>ครูสามารถใช้สถานการณ์ที่กำลังเป็นอยู่และเห็นได้ในขณะนั้นมาทำให้เกิดการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ได้<span>   </span>ดังนั้นจากการวิจัยในครั้งนี้พอจะสรุปได้ว่า<span>    </span>การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาทและได้ลงมือกระทำปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองนั้นเป็นสิ่งที่ทำให้เด็กปฐมวัยได้รับประสบการณ์ตรงก่อให้เกิดทักษะจากการฝึกปฏิบัติ<span>   </span>เกิดความรู้ความเข้าใจ และมีเจตคิที่ดี<span>  </span>สามารถที่จะเรียนรู้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ได้อย่างไม่ยาก<span>    </span>และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยรักที่จะเรียนรู้เรื่องคณิตศาสตร์ในระดับสูงต่อไป<span>  </span>สภาครูคณิตศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NCTM,1999, p.1-6<span>  </span>อ้างถึงใน ทิพากร<span>  </span>บุญยกุลศรีรุ่ง, 2547:201)ได้กล่าวว่า<span>   </span>การจัดประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์ให้เด็ก ควรจะส่งเสริมทั้ง<span>  </span>2<span>  </span>ด้าน<span>   </span>คือ<span>    </span>1)<span>  </span>ด้านมาตรฐานความคิดทางคณิตศาสตร์<span>    </span>ประกอบด้วย<span>  </span>การแก้ปัญหา การสื่อสาร การให้เหตุผลและการเชื่อมโยง<span>  </span>2)<span>  </span>ด้านมาตรฐานเนื้อหาทางคณิตศาสตร์<span>  </span>ประกอบด้วย<span>  </span>จำนวน<span>  </span>รูปทรง<span>  </span>การวัด<span>  </span>แบบรูป<span>   </span>เป็นต้น<span>  </span>สิ่งเหล่านี้จะทำให้เด็กเกิดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ได้เป็นอย่างดี<span>   </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span></span><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ปัจจัยที่ทำให้วิธีการประสบผลสำเร็จ<o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span>                </span></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ผลสำเร็จที่ได้เกิดจากการที่เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้จากการเล่นและการลงมือปฏิบัติจริง<span>  </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์จึงเป็นกิจกรรมที่เด็กได้แสดงออกทางความคิดอย่างเสรี ด้วยการลงมือปฏิบัติงานตามความสนใจของตนกับวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลายน่าสนใจและสนุกสนานเพลิดเพลิน เป็นกิจกรรมที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมความพร้อม และส่งเสริมทักษะด้านต่างๆให้เด็กปฐมวัย<span>    </span>ในการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่จึงนิยมจัดในลักษณะของการบูรณาการเนื้อหาวิชาหรือทักษะที่ต้องการปลูกฝังโดยใช้ศิลปะเป็นเครื่องมือและได้มีการนำสื่อวัสดุประเภทต่างๆมาใช้ในชิ้นงานเพื่อให้เด็กเกิดพัฒนาการและการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">บทเรียนที่ได้รับ</span></b><span style=\"font-size: large\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span>           </span><span>   </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">จากการสังเกตพบว่า เด็กที่ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ต่ำ จะมีสมาธิในการทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สั้นกว่าเด็กที่มีคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูง เด็กมักจะหันไปสนใจกับสิ่งอื่นได้ง่าย ผู้วิจัยต้องให้ความสนใจและใช้คำถามมากกว่าเด็กคนอื่น เพราะ<span class=\"MsoPageNumber\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">มักจะไม่กล้าตอบคำถาม หรือตอบคำถามด้วยความไม่มั่นใจ ครูต้องให้กำลังและชมเชยเมื่อตอบคำถามถูก รวมถึงการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่เด็กตอบคำถามไม่ได้ โดยการใช้คำถามกระตุ้นให้สังเกตหรือการปรับคำถามให้มีความเข้าใจง่ายขึ้น </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715456935, expire = 1715543335, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:732c2c8ed57eb57c25957ca2ef10bea6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการวัด การจัดแบบรูปของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์

ผลงาน     ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการวัด การจัดแบบรูปที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย   (Best Practice)ผู้นำเสนอผลงาน   นางสาวชาลีมาศ  หาระบุตร ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษโรงเรียนอุบลวิทยาคม  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 หลักการเหตุผล  / ความเป็นมาปัจจัยสำคัญประการหนึ่งของการจัดกระบวนการเรียนการสอนในระดับปฐมวัย คือ การคำนึงการให้ความสำคัญกับพัฒนาการของเด็กซึ่งเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า 6 ปีแรกของชีวิตเป็นช่วงที่เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างรวดเร็วเป็นวัยที่สำคัญที่สุดสำหรับพัฒนาการของชีวิตมนุษย์  เพราะเป็นรากฐานแห่งการพัฒนาศักยภาพ     เด็กปฐมวัยจึงเป็นวัยที่ควรได้รับการพัฒนาทุกด้าน โดยเฉพาะพัฒนาการทางด้านสติปัญญาเป็นพัฒนาการด้านหนึ่งที่มีความสำคัญมาก   เพราะจากการศึกษาของนักการศึกษาและข้อค้นพบทางการแพทย์พบว่า  พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก  พัฒนาอย่างรวดเร็วมากในช่วง 4 ปีแรกของชีวิต  เด็กมีความเจริญเติบโตทางด้านสมองถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของผู้ใหญ่ และเมื่อเข้าสู่ช่วงอายุ 6 ปี ถึง 8 ปี จะพัฒนาเพิ่มขึ้นอีก 30 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น  คุณครูจึงมีความสนใจที่จะส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เด็กได้แสดงออกทางความคิดอย่างเสรี ด้วยการลงมือปฏิบัติงานตามความสนใจของตนกับวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลายน่าสนใจและสนุกสนานเพลิดเพลิน  โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการวัด การจัดแบบรูปของเด็กปฐมวัย  ทั้งนี้เพื่อเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ได้อย่างคุ้มค่า เหมาะสม สอดคล้องกับวัย ความสนใจ ความต้องการ และสภาพท้องถิ่นวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการวัด การจัดแบบรูปของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์  แนวคิด/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง                คณิตศาสตร์เป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์  เมื่อสังเกตในการเล่นและการพูดคุยของเด็กมักจะมีเรื่องคณิตศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องมีการพูดถึงการเปรียบเทียบ การวัด การจัดประเภทและตัวเลข  (นิตยา  ประพฤติกิจ. 2541 : 3-4)   ทักษะการวัด เป็นทักษะที่จำเป็นเพื่อหาข้อมูลเชิงปริมาณทางด้านกายภาพ  และไม่ใช่ด้านกายภาพ  ซึ่งการวัดสำหรับเด็กต้องอาศัยพื้นฐานการสังเกต   การเปรียบเทียบ การฝึกฝนการวัด  เด็กควรมีโอกาสจะได้รับประสบการณ์ตรงเพื่อจัดกระทำกับวัสดุ   เพื่อที่จะสามารถเลือกเครื่องมือและบอกเหตุผลของการใช้เครื่องมือ ในการวัดต่อไป  ทำให้เด็กรับรู้เกี่ยวกับเรื่องของการจำแนกของออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะ  หรือขนาด ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันของเด็ก (ทิพากร  บุญยกุลศรีรุ่ง. 2547 : 125)   การทำแบบรูปเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้เด็กพัฒนาทักษะการสังเกตแบบรูป  ลักษณะของสิ่งต่างๆ   เพื่อที่เด็กจะสามารถทำตามแบบ  หรือคิดรูปแบบใหม่ขึ้นเอง(ทิพากร  บุญยกุลศรีรุ่ง. 2547: 103)   การจดจำแบบรูปได้จึงนับว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาคณิตศาสตร์ของเด็กเพราะกิจกรรมเช่นนี้จะช่วยพัฒนาการจำแนกด้านการใช้สายตา  และการได้ยินของเด็ก (นิตยา  ประพฤติกิจ. 2541 : 136) การเรียนคณิตศาสตร์เป็นวิชาของการคิดอย่างมีเหตุผล  การจัดกิจกรรมให้เด็กได้ฝึกอย่างสม่ำเสมอ และใช้กระบวนการคิดที่ถูกต้องจะช่วยให้เด็กเกิดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ได้ดี                                                                                                                            ดังนั้น ในการที่จะช่วยพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย  ครูผู้สอนสามารถเลือกจัดกิจกรรมอย่างได้หลากหลาย  อาทิ กิจกรรมการเล่านิทาน  กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ  เกมการศึกษา  และกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์    กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมหลักที่สำคัญกิจกรรมหนึ่งในหลายกิจกรรมที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมความพร้อม และส่งเสริมทักษะด้านต่างๆให้เด็กปฐมวัย ในการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย   ส่วนใหญ่จึงนิยมจัดในลักษณะของการบูรณาการเนื้อหาวิชาหรือทักษะที่ต้องการปลูกฝังโดยใช้ศิลปะเป็นเครื่องมือและได้มีการนำสื่อวัสดุประเภทต่างๆมาใช้ในชิ้นงานเพื่อให้เด็กเกิดพัฒนาการและการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น  นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ  จงรัก  อ่วมมีเพียร (2547 : บทคัดย่อ)  พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสื่อผสม มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น  การดำเนินงาน/กระบวนการ/วิธีการปฏิบัติ1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย3. ดำเนินการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์  จำนวน 18 แผน  โดยกำหนดรูปแบบของการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ซึ่งประกอบไปด้วย  ชื่อกิจกรรม  จุดประสงค์  อุปกรณ์  ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรม  3 ขั้นตอนดังนี้  3.1  ขั้นนำ  ครูนำเด็กปฐมวัยเข้าสู่เรื่องราวด้วยการสนทนา  ใช้คำถาม  และสร้างข้อตกลงร่วมกัน ระหว่างครูกับเด็กปฐมวัยในการปฏิบัติกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์              3.2  ขั้นดำเนินกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ครูแนะนำ  วัสดุ  อุปกรณ์  สาธิตการทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์  ในระหว่างนั้นมีการสนทนาซักถามโดยครูคอยใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กปฐมวัยใช้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวัด  การจัดรูปแบบ   เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยทุกครั้ง  แล้วนำไปสร้างผลงานของตนเองตามจุดประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมได้3.3  ขั้นสรุป เด็กปฐมวัยและครูร่วมกันสนทนา  ทบทวนการทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์  และการสร้างผลงานศิลปะสร้างสรรค์ที่มีความสัมพันธ์กับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ตามจุดประสงค์ของกิจกรรมนั้น                          แผนการดำเนินงาน/ระยะเวลาในการดำเนินงานการดำเนินงานในภาคเรียนที่ 1   เป็นเวลา  6  สัปดาห์  สัปดาห์ละ 3 วัน    ครั้งละ  40  นาที ในช่วงเวลา 09.00 – 09.40 น.   รวม  18  ครั้งผลการปฏิบัติงานจากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย  ระยะที่ประสบผลสำเร็จนี้พบว่าเด็กปฐมวัยมีความสนใจและสนุกสนานกับการวัดและการจัดรูปแบบผ่านผลงานและในชีวิตประจำวันมากขึ้น   สังเกตได้จากการที่เด็กปฐมวัยนำทักษะการวัด  และทักษะการจัดรูปแบบมาใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆ ที่นอกเหนือจากกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ โดยครูมีบทบาทในการกระตุ้นให้เด็กปฐมวัยใช้ทักษะการวัด และทักษะการจัดรูปแบบด้วยความสนุกสนานอย่างไม่รู้ตัว   สอดคล้องกับ ทิพากร  บุญยกุลศรีรุ่ง (2547:22) กล่าวว่า   ครูสามารถใช้สถานการณ์ที่กำลังเป็นอยู่และเห็นได้ในขณะนั้นมาทำให้เกิดการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ได้   ดังนั้นจากการวิจัยในครั้งนี้พอจะสรุปได้ว่า    การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาทและได้ลงมือกระทำปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองนั้นเป็นสิ่งที่ทำให้เด็กปฐมวัยได้รับประสบการณ์ตรงก่อให้เกิดทักษะจากการฝึกปฏิบัติ   เกิดความรู้ความเข้าใจ และมีเจตคิที่ดี  สามารถที่จะเรียนรู้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ได้อย่างไม่ยาก    และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยรักที่จะเรียนรู้เรื่องคณิตศาสตร์ในระดับสูงต่อไป  สภาครูคณิตศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NCTM,1999, p.1-6  อ้างถึงใน ทิพากร  บุญยกุลศรีรุ่ง, 2547:201)ได้กล่าวว่า   การจัดประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์ให้เด็ก ควรจะส่งเสริมทั้ง  2  ด้าน   คือ    1)  ด้านมาตรฐานความคิดทางคณิตศาสตร์    ประกอบด้วย  การแก้ปัญหา การสื่อสาร การให้เหตุผลและการเชื่อมโยง  2)  ด้านมาตรฐานเนื้อหาทางคณิตศาสตร์  ประกอบด้วย  จำนวน  รูปทรง  การวัด  แบบรูป   เป็นต้น  สิ่งเหล่านี้จะทำให้เด็กเกิดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ได้เป็นอย่างดี   ปัจจัยที่ทำให้วิธีการประสบผลสำเร็จ                ผลสำเร็จที่ได้เกิดจากการที่เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้จากการเล่นและการลงมือปฏิบัติจริง  กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์จึงเป็นกิจกรรมที่เด็กได้แสดงออกทางความคิดอย่างเสรี ด้วยการลงมือปฏิบัติงานตามความสนใจของตนกับวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลายน่าสนใจและสนุกสนานเพลิดเพลิน เป็นกิจกรรมที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมความพร้อม และส่งเสริมทักษะด้านต่างๆให้เด็กปฐมวัย    ในการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่จึงนิยมจัดในลักษณะของการบูรณาการเนื้อหาวิชาหรือทักษะที่ต้องการปลูกฝังโดยใช้ศิลปะเป็นเครื่องมือและได้มีการนำสื่อวัสดุประเภทต่างๆมาใช้ในชิ้นงานเพื่อให้เด็กเกิดพัฒนาการและการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นบทเรียนที่ได้รับ              จากการสังเกตพบว่า เด็กที่ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ต่ำ จะมีสมาธิในการทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สั้นกว่าเด็กที่มีคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สูง เด็กมักจะหันไปสนใจกับสิ่งอื่นได้ง่าย ผู้วิจัยต้องให้ความสนใจและใช้คำถามมากกว่าเด็กคนอื่น เพราะมักจะไม่กล้าตอบคำถาม หรือตอบคำถามด้วยความไม่มั่นใจ ครูต้องให้กำลังและชมเชยเมื่อตอบคำถามถูก รวมถึงการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่เด็กตอบคำถามไม่ได้ โดยการใช้คำถามกระตุ้นให้สังเกตหรือการปรับคำถามให้มีความเข้าใจง่ายขึ้น

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 282 คน กำลังออนไลน์