• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('พลังงานหมุนเวียน (Renewable energy)', 'node/51173', '', '18.226.34.117', 0, 'de1d3bf521edc849b447a2f24106e233', 139, 1716133271) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:18e4dd2f9e427b9bf0b5a17e774b94a2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #002060; font-size: 18pt\">สมบัติของของเหลว</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #002060; font-size: 18pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #002060; font-size: 18pt\"></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #002060; font-size: 18pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #002060; font-size: 18pt\"><o:p> </o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #000000; font-size: 16pt\"><span>      </span>ถ้าลดอุณหภูมิและเพิ่มความดันให้กับก๊าซ ก๊าซจะกลายเป็นของเหลว เนื่องจากมีช่องว่างอยู่ทั่วไป และ มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลว และ แรงดึงดูด ของโลกที่กระทำต่อของเหลว ของเหลวจึงไหลได้และรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ การระเหยจะเกิดขึ้นที่ผิวของเหลว ระหว่างที่ของเหลวระเหย พลังงานจลน์เฉลี่ยของของเหลวที่เหลือจดลดลง ของเหลวจึงดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อมเข้ามาแทนพลังงานส่วนที่เสียไปและหลักการระเหยนี้ใช้อธิบาย </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #000000; font-size: 16pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #000000; font-size: 16pt\"></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #000000; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #000000; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">เมื่อเหงื่อระเหยไปจากร่างกายเราจึงรู้สึกเย็นและ การทำความเย็นในตู้เย็นหรือเครื่องทำความเย็น </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff0000; font-size: 16pt\">ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> </o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt 36pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 0pt 36pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span> </span><span lang=\"TH\">ความดันไอ (</span>Vapour Pressure)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p>  </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"167\" width=\"482\" src=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/3/gas/gas/aa.gif\" id=\"il_fi\" style=\"padding-bottom: 8px; width: 288px; padding-right: 8px; height: 104px; padding-top: 8px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ถ้าเอาของเหลวใส่ในภาชนะที่ไม่มีฝาปิด เมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ ของเหลวจะมีปริมาตรลดลง และในที่สุดจะหมดไป ทั้งนี้เพราะว่าของเหลวนั้นได้ระเหยกลายเป็นไอไปสู่อากาศ แต่ถ้าเอาของเหลวชนิดเดียวกันนี้ใส่ในภาชนะปิด ไม่ว่าตั้งทิ้งไว้นานเท่าใดของเหลวนั้นจะมีปริมาตรลดลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ทั้งนี้เพราะว่า เมื่อของเหลวกลายเป็นไอ โมเลกุลที่ระเหยเป็นไอหนีไปสู่อากาศไมได้ยังคงอยู่ในภาชนะบริเวณที่ว่างเหนือของเหลวนั้น โมเลกุลของไอเหล่านี้จะเคลื่อนที่ชนกันเอง</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>  </span><span lang=\"TH\">ชนผิวของของเหลว และชนกับผนังภาชนะ โมเลกุลที่เคลื่นที่ชนผิวหน้าของของเหลวส่วนใหญ่จะถูกของเหลวดูดกลับลงไปเป็นของเหลวอีก ซึ่งเรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">ไอควบแน่นของของเหลว</span>” <span lang=\"TH\">เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณไอมากขึ้นทำให้อัตราการควบแน่นเพิ่มขึ้น โมเลกุลที่ยังคงอยู่ในสภาพไอทำให้เกิด</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">แรงกระทำต่อภาชนะ หรือมีความดันเกิดขึ้นในภาชนะ ซึ่งเรียกว่า </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">“ <span lang=\"TH\">ความดันไอ</span>” <span lang=\"TH\">และความดันนี้จะมีค่ามากขึ้นเมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ ทั้งนี้เพราะโมเลกุลที่ไอมีมากขึ้น เนื่องจากอันตราการระเหยมากกว่าอัตราการที่ไอควบแน่นเป็นของเหลว จนในที่สุดความดันไอจะมีค่าคงที่ค่าหนึ่ง เพราะมีจำนวนโมเลกุลที่เป็นไอคงที่ เนื่องจากอัตราการระเหยกลายเป็นไอมีค่าเท่ากับอัตราที่ไอควบแน่นเป็นของเหลว เราเรียกภาวะนี้ว่า </span>“<span lang=\"TH\">ภาวะสมดุล</span>” <span lang=\"TH\">แต่เนื่องจากที่ภาวะสมดุลนี้ระบบมิได้หยุดนิ่ง ยังคงมีทั้งการระเหยกลายเป็นไอและไอควบแน่นเป็นของเหลว แต่เกิดในอัตราที่เท่ากัน จึงเรียกภาวะสมดุลลักษณะเช่นนี้ว่า </span>“<span lang=\"TH\">สมดุไดนามิก (</span>Dynamic equilibrium)” <span lang=\"TH\">ส่วนความดันไอในขณะนี้ซึ่งเป็น</span><o:p></o:p></span> \n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">          <span lang=\"TH\">ความดันไอที่มีค่าสูงสุดเรียกว่า</span> “<span lang=\"TH\">ความดันไอสมดุล</span>” <span lang=\"TH\">หรือเรียกสั้นๆว่า ความดันไอ</span><o:p></o:p></span>\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 16pt\">สรุปความหมายสมดุลไดนามิก</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span>\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">          <span lang=\"TH\">เป็นสมดุลของระบบที่ปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับ เกิดขึ้นตลอดเวลา ด้วยอัตราเร็วเท่ากัน ดังนั้น ถึงแม้ว่าเราจะไม่สามารถสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่เกิดขึ้นในภาวะสมดุลก็ตาม ระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงไปและกลับอยู่ตลอดเวลา</span><o:p></o:p></span>\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">1.) <span lang=\"TH\">อุณหภูมิ</span>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">         - <span lang=\"TH\">ที่อุณหภูมิสูง ของเหลวจะกลายเป็นไอได้มาก จึงมีความดันไอสูง</span></span></p>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">         - <span lang=\"TH\">ที่อุณหภูมิต่ำ ของเหลวจะกลายเป็นไอได้น้อย จึงมีความดันไอต่ำ</span></span></p>\n<p></p></span></o:p></span></div></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">    2) <span lang=\"TH\">ชนิดของของเหลว</span>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">  - <span lang=\"TH\">ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก จะระเหยได้ยาก จึงมีความดันไอต่ำ มีจุดเดือดสูง</span></span></p></span></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">  - <span lang=\"TH\">ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย จะระเหยได้ง่าย จึงมีความดันไอสูงมีจุดเดือดต่ำ</span></span></span></span></span></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span></span></span></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p> </o:p></span></span></span></span></span></span></span></o:p></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>', created = 1716133281, expire = 1716219681, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:18e4dd2f9e427b9bf0b5a17e774b94a2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

รูปภาพของ srsnarumon

 

สมบัติของของเหลว

 

      ถ้าลดอุณหภูมิและเพิ่มความดันให้กับก๊าซ ก๊าซจะกลายเป็นของเหลว เนื่องจากมีช่องว่างอยู่ทั่วไป และ มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลว และ แรงดึงดูด ของโลกที่กระทำต่อของเหลว ของเหลวจึงไหลได้และรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ การระเหยจะเกิดขึ้นที่ผิวของเหลว ระหว่างที่ของเหลวระเหย พลังงานจลน์เฉลี่ยของของเหลวที่เหลือจดลดลง ของเหลวจึงดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อมเข้ามาแทนพลังงานส่วนที่เสียไปและหลักการระเหยนี้ใช้อธิบาย

 

เมื่อเหงื่อระเหยไปจากร่างกายเราจึงรู้สึกเย็นและ การทำความเย็นในตู้เย็นหรือเครื่องทำความเย็น

ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว

 

 

 ความดันไอ (Vapour Pressure)

 

ถ้าเอาของเหลวใส่ในภาชนะที่ไม่มีฝาปิด เมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ ของเหลวจะมีปริมาตรลดลง และในที่สุดจะหมดไป ทั้งนี้เพราะว่าของเหลวนั้นได้ระเหยกลายเป็นไอไปสู่อากาศ แต่ถ้าเอาของเหลวชนิดเดียวกันนี้ใส่ในภาชนะปิด ไม่ว่าตั้งทิ้งไว้นานเท่าใดของเหลวนั้นจะมีปริมาตรลดลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ทั้งนี้เพราะว่า เมื่อของเหลวกลายเป็นไอ โมเลกุลที่ระเหยเป็นไอหนีไปสู่อากาศไมได้ยังคงอยู่ในภาชนะบริเวณที่ว่างเหนือของเหลวนั้น โมเลกุลของไอเหล่านี้จะเคลื่อนที่ชนกันเอง  ชนผิวของของเหลว และชนกับผนังภาชนะ โมเลกุลที่เคลื่นที่ชนผิวหน้าของของเหลวส่วนใหญ่จะถูกของเหลวดูดกลับลงไปเป็นของเหลวอีก ซึ่งเรียกว่า ไอควบแน่นของของเหลวเมื่อเวลาผ่านไปปริมาณไอมากขึ้นทำให้อัตราการควบแน่นเพิ่มขึ้น โมเลกุลที่ยังคงอยู่ในสภาพไอทำให้เกิด

แรงกระทำต่อภาชนะ หรือมีความดันเกิดขึ้นในภาชนะ ซึ่งเรียกว่า ความดันไอและความดันนี้จะมีค่ามากขึ้นเมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ ทั้งนี้เพราะโมเลกุลที่ไอมีมากขึ้น เนื่องจากอันตราการระเหยมากกว่าอัตราการที่ไอควบแน่นเป็นของเหลว จนในที่สุดความดันไอจะมีค่าคงที่ค่าหนึ่ง เพราะมีจำนวนโมเลกุลที่เป็นไอคงที่ เนื่องจากอัตราการระเหยกลายเป็นไอมีค่าเท่ากับอัตราที่ไอควบแน่นเป็นของเหลว เราเรียกภาวะนี้ว่า ภาวะสมดุลแต่เนื่องจากที่ภาวะสมดุลนี้ระบบมิได้หยุดนิ่ง ยังคงมีทั้งการระเหยกลายเป็นไอและไอควบแน่นเป็นของเหลว แต่เกิดในอัตราที่เท่ากัน จึงเรียกภาวะสมดุลลักษณะเช่นนี้ว่า สมดุไดนามิก (Dynamic equilibrium)” ส่วนความดันไอในขณะนี้ซึ่งเป็น

 

          ความดันไอที่มีค่าสูงสุดเรียกว่าความดันไอสมดุลหรือเรียกสั้นๆว่า ความดันไอ

 

สรุปความหมายสมดุลไดนามิก

 

          เป็นสมดุลของระบบที่ปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับ เกิดขึ้นตลอดเวลา ด้วยอัตราเร็วเท่ากัน ดังนั้น ถึงแม้ว่าเราจะไม่สามารถสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่เกิดขึ้นในภาวะสมดุลก็ตาม ระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงไปและกลับอยู่ตลอดเวลา

 

ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว

1.) อุณหภูมิ

         - ที่อุณหภูมิสูง ของเหลวจะกลายเป็นไอได้มาก จึงมีความดันไอสูง

         - ที่อุณหภูมิต่ำ ของเหลวจะกลายเป็นไอได้น้อย จึงมีความดันไอต่ำ

    2) ชนิดของของเหลว

  - ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก จะระเหยได้ยาก จึงมีความดันไอต่ำ มีจุดเดือดสูง

  - ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย จะระเหยได้ง่าย จึงมีความดันไอสูงมีจุดเดือดต่ำ  

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 267 คน กำลังออนไลน์