• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บทปฏิบัติการ เรื่อง การสืบพันธุ์ของสัตว์ สำหรับนักเรียน ม.๕/๑', 'node/95325', '', '3.138.173.2', 0, '8826e740245a077951b4c9529965e55a', 161, 1717275073) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a027a98eb91f4daecc0eeb20d278becd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\"></div>\n<div style=\"text-align: left\">                                                                      <b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'; color: red\" lang=\"TH\">โรคถุงลมโป่งพอง</span></b></div>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt; text-indent: 18.75pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">โรคถุงลมโป่งพองเป็นโรคที่เนื้อปอดถูกทำลาย ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลงทำให้ผู้ป่วยมีอาการ หอบเหนื่อย หายใจลำบาก</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">สาเหตุของโรค </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt; text-indent: 18.75pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #99cc00\" lang=\"TH\">สาเหตุของถุงลมโป่งพอง</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">ที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ การสูบบุหรี่ นอกจากนั้นยังอาจเกิดจากการสูดดมสิ่งที่เป็นพิษ เช่น มลภาวะ ไอเสีย ฝุ่น สารเคมี เป็นระยะเวลานาน ๆ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-top: 22.5pt; margin-right: 30.6pt; margin-bottom: 22.5pt; margin-left: 0cm; text-align: center\" align=\"center\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #666666\"></span></p>\n<!--[if gte vml 1]><v:shapetype id=\"_x0000_t75\"coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\"filled=\"f\" stroked=\"f\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"/><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"/><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"/><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"/><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"/><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"/><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"/><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"/><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"/><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"/><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"/><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"/><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"/></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"/><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"/></v:shapetype><v:shape id=\"_x0000_i1025\" type=\"#_x0000_t75\" alt=\"โรคถุงลมโป่งพอง โรคถุงลมปอดโป่งพอง\"style=\'width:187.5pt;height:158.25pt\'><v:imagedata src=\"file:///C:\\Users\\User001\\AppData\\Local\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.jpg\"o:href=\"http://www.goldenyears.co.th/picture/disease/copd.jpg\"/></v:shape><![endif]--><!--[if gte vml 1]><v:shapetype id=\"_x0000_t75\"coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\"filled=\"f\" stroked=\"f\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"/><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"/><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"/><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"/><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"/><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"/><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"/><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"/><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"/><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"/><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"/><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"/><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"/></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"/><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"/></v:shapetype><v:shape id=\"_x0000_i1025\" type=\"#_x0000_t75\" alt=\"โรคถุงลมโป่งพอง โรคถุงลมปอดโป่งพอง\"style=\'width:187.5pt;height:158.25pt\'><v:imagedata src=\"file:///C:\\Users\\User001\\AppData\\Local\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.jpg\"o:href=\"http://www.goldenyears.co.th/picture/disease/copd.jpg\"/></v:shape><![endif]--><!--[if !vml]--><!--[if !vml]--><p><img src=\"file:///C:\\Users\\User001\\AppData\\Local\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.jpg\" v:shapes=\"_x0000_i1025\" alt=\"โรคถุงลมโป่งพอง โรคถุงลมปอดโป่งพอง\" height=\"211\" width=\"250\" /></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p>\n<span lang=\"TH\">ภาพเปรียบเทียบ ถุงลมปอดในคนปกติ(บน)</span><br /><span lang=\"TH\">และ ถุงลมปอดในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง(ล่าง)</span><o:p></o:p></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt; text-indent: 18.75pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">โดยปกติที่แล้วทางเดินหายใจมีลักษณะเหมือนกับต้นไม้กลับหัวโดยกิ่งก้านต้นไม้เปรียบเสมือนหลอดลม และมีถุงลมต่อลงมาจากหลอดลมส่วนปลาย</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt; text-indent: 18.75pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">ในคนทั่วไป หลอดลมจะโล่งและเปิดอยู่ตลอดเวลา ส่วนถุงลมก็จะเป็นที่แลกเปลี่ยนออกซิเจนให้กับร่างกาย</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt; text-indent: 18.75pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">ในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพองทางเดินหายใจ และถุงลมขาดประสิทธิภาพ การแลกเปลี่ยนอากาศจะเป็นไปได้ยากเพราะ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\">-   <span lang=\"TH\">ทางเดินหายใจและถุงลมขาดความยืดหยุ่น ก๊าซจึงเข้าออกยาก</span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\">-   <span lang=\"TH\">ผนังของถุงลมบางส่วนถูกทำลายจึงไม่สามารถแลกเปลี่ยนอากาศได้เต็มที่</span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\">-   <span lang=\"TH\">ผนังของหลอดลมหนาผิดปกติและบวม อากาศจึงเข้าไปได้น้อย</span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\">-   <span lang=\"TH\">เซลล์ของทางเดินหายใจมักจะอักเสบมีของเหลว และเมือกเกาะอยู่มาก จึงอุดกั้นทางเดินหายใจ อากาศเข้าไปยาก</span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #99cc00\"><br /><span lang=\"TH\">อาการ </span><o:p></o:p></span></b></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt; text-indent: 18.75pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">ในผู้ป่วยที่เป็นโรคถุงลมโป่งพองถุงลมและหลอดลมจะเสียความยืดหยุ่น ทำให้ลมที่จะเข้าปอดน้อยกว่าปกติรวมทั้งการแลกเปลี่ยนออกซิเจนก็ลดน้อยลงด้วย</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt; text-indent: 18.75pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ในระยะเริ่มแรกมักจะไม่มีอาการแต่ต่อมาเมื่อเป็นมากขึ้น อาการก็จะแสดงชัดขึ้นตามลำดับ โดยอาการสำคัญที่พบบ่อยๆ ได้แก่หายใจลำบาก หอบ เหนื่อย และหายใจมีเสียงวี๊ด</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #99cc00\" lang=\"TH\">การรักษา </span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #99cc00\"><o:p></o:p></span></b></p>\n<p style=\"margin-right: 30.6pt; text-indent: 18.75pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\">ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาใดที่สามารถทำให้โรคถุงลมโป่งพองหายได้ แต่การใช้ยาจะช่วยให้ ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นและปอดถูกทำลายช้าลง</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\"><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Angsana New\'; color: #666666\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></b></p>\n', created = 1717275103, expire = 1717361503, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a027a98eb91f4daecc0eeb20d278becd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:48a0eed321755008362821c90f2634eb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>:) </p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 280px; font-weight: bold\">\n<span style=\"background-color: #999999\">การสูบบุหรี่กับโรคมะเร็ง</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; font-weight: bold\">\n<span style=\"background-color: #999999\">ใจความสำคัญ</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span># การสูบบุหรี่ทำให้เกิดการเสียชีวิตจากมะเร็งปอดได้ถึง 87% นอกจากนี้ยังสามารถทำให้เกิดมะเร็งกล่องเสียง มะเร็งช่องปาก มะเร็งคอหอย มะเร็งหลอดอาหาร </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ดูคำถามที่ 1)</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span># ผู้ได้รับควันบุหรี่ในอากาศโดยมิได้สูบ เรียกว่า ผู้สูบบุหรี่มือสอง (Secondhand smoker) มีอัตราการตาย 3,000 คนต่อปีในสหรัฐอเมริกา (ดูคำถามที่ 2)</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span># บุหรี่มีสารเคมีมากมายหลายพันชนิด ในจำนวนเหล่านี้มีถึง 60 ชนิดที่เป็นสารก่อมะเร็ง (ดูคำถามที่ 3)</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span># อัตราความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งและโรคจากการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้นตามปริมาณการสูบ (ดูคำถามที่ 4)</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span># การเลิกสูบบุหรี่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างมากและมีผลทันที ซึ่งรวมไปถึงการลดอัตราเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดและมะเร็งอื่น ๆ โรคหัวใจ, โรคหลอดเลือด</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>ในสมองตีบหรือเตก และโรคปอดเรื้อรัง (ดูคำถามที่ 5)</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span>การสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้ ซึ่งช่วยลดการเสียชีวิตได้ถึง 30% ของการเสียชีวิตจากมะเร็งทั้งหมดในแต่ละปีในอเมริกา นอกจากนี้การสูบบุหรี่ยังทำให้เกิดโรค</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>ปอดเรื้อรัง (ถุงลมโปร่งพองและปอดอักเสบเรื้อรัง), โรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดในสมองตีบหรือแตก และต้อกระจก การสูบบุหรี่ในระหว่างตั้งครรภ์จะทำให้เกิดทารกตายระหว่าง</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>คลอด ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย การตายอย่างกระทันหันของทารก (SIDS) และภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์อื่น ๆ การหยุดสูบบุหรี่จะช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคที่</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>กล่าวมาได้อย่างมาก รวมไปถึง</span><span>ยังสามารถลดผลกระทบต่อเด็กได้</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; font-weight: bold\">\n<span>1. <span style=\"background-color: silver\">บุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบต่อการเกิดมะเร็งได้อย่างไร?</span></span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span>การสูบบุหรี่ทำให้เกิดการตายจากมะเร็งปอดได้ถึง 87% ซึ่งมะเร็งปอดนั้นจัดว่าเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญจากโรคมะเร็งทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย นอกจากนี้การสูบบุหรี่</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>ยังก่อให้เกิดมะเร็งมากมาย เช่น มะเร็งกล่องเสียง, มะเร็งช่องปาก, มะเร็งคอหอย, มะเร็งหลอดอาหาร, มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ, มะเร็งไต, มะเร็งตับอ่อน, มะเร็งปากมดลูก, </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งเม็ดเลือดขาว (Acute myeloid leukemia)</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; font-weight: bold\">\n<span>2. <span style=\"background-color: silver\">ผู้ไม่สูบบุหรี่จะมีปัจจัยเสี่ยงหรือไม่?</span></span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span>นอกไปจากการสูบบุหรี่โดยตรงแล้ว การได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อม (Secondhand smoker of environmental tobacco smoke; ETS) ก่อให้เกิด</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>มะเร็งปอด, โรคหัวใจและโรคระบบทางเดินหายใจในเด็ก ได้มากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (การสูบบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมนั้นประกอบไปด้วยการได้รับควันบุหรี่ที่เผาไหม้และควันที่</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>ผู้สูบบุหรี่หายใจออกมาจากปอด) องค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมอเมริกา (U.S. Environmental Protection Agency; EPA), สถาบันพิษวิทยาด้านสุขภาพสิ่งแวดล้อมอเมริกา </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>(The National Institute of Environmental Health Science\'s National Toxicology Program) และองค์การอนามัยโลกด้านการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับมะเร็ง </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>(WHO\'s International Agency for research on Cancer; IARC) ได้จัดว่าการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมเป็นการก่อให้เกิดมะเร็ง U.SEPA ประมาณการว่า </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>การได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการตายจากมะเร็งปอดถึง 3,000 คน ในผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ และยังทำให้เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างในเด็ก 0-18 เดือน </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>300,000 คนต่อปีในอเมริกา</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; font-weight: bold\">\n<span>3. <span style=\"background-color: silver\">สารเคมีที่ก่อให้เกิดอันตรายในควันบุหรี่คืออะไร? </span></span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span>ควันบุหรี่ประกอบไปด้วยสารเคมีประมาณ 4,000 ชนิด ซึ่งรวมไปถึงสารก่อมะเร็งถึง 60 ชนิด สารต่าง ๆ เหล่านี้ เช่น คาร์บอนมอนออกไซด์, ทาร์, สารหนู (Arsenic) </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>และตะกั่วเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์ นิโคตินเป็นสารเสพติดที่อยู่ในยาสูบตามธรรมชาติและทำให้เกิดการเสพติดในผลิตภัณฑ์ยาสูบ รวมไปถึงบุหรี่ นิโคตินถูกดูดซึมเข้าสู่กระแส</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>เลือดและไปยังสมองได้อย่างรวมเร็วภายในเวลาไม่กี่วินาทีระหว่างการสูบบุหรี่ ซึ่งการก่อให้เกิดการเสพติดของนิโคตินนี้เหมือนกับการเสพติดในเฮโรอีนและโคเคน</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; font-weight: bold\">\n<span>4. <span style=\"background-color: silver\">การได้รับควันบุหรี่ส่งผลกระทบต่อผู้สูบได้อย่างไร?</span></span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span>การสูบบุหรี่ก่อให้เกิดอันตรายเกือบทุกอวัยวะของร่างกาย อัตราการเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ เช่น มะเร็งต่าง ๆ, โรคหัวใจ, โรคเส้นเลือดในสมองตีบหรือแตก, </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>โรคทางเดินหายใจนั้นจะเพิ่มขึ้นเมื่อผู้สูบได้รับควันบุหรี่มากขึ้น การสูบบุหรี่มากขึ้นนี้หมายถึงจำนวนมวนที่สูบต่อวัน, ปริมาณของการสูบ (เช่นขนาดและความถึ่ของบุหรี่), </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>อายุที่เริ่มสูบบุหรี่, จำนวนปีที่สูบบุหรี่ และการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อม (Secondhand smoke)    </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; font-weight: bold\">\n<span>5. <span style=\"background-color: silver\">การหยุดสูบบุหรี่จะส่งผลกระทบต่อการเกิดมะเร็งและโรคอื่น ๆ ได้อย่างไร?</span></span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300; margin-left: 40px\">\n<span>การหยุดสูบบุหรี่ทำให้เกิดประโยชน์อย่างทันทีและมากมายต่อสุขภาพ การหยุดสูบนั้นจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งปอดและมะเร็งต่าง ๆ, โรคหัวใจ,</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>โรคหลอดเลือดในสมองตีบหรือแตก และโรคปอดเรื้อรัง ยิ่งผู้สูบหยุดบุหรี่เร็วเท่าไรก็ยิ่งก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพมากขึ้นเท่านั้น ตัวอย่างเช่น มีการวิจัยที่บอกว่าคนที่เลิกสูบบุหรี่</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>ก่อนอายุ 50 ปี จะลดปัจจัยเสี่ยงต่อการตายใน 15 ปีข้างหน้าได้ถึงครึ่งหนึ่งเมือเทียบกับผู้ที่ยังสูบบุหรี่ต่อ การสูบบุหรี่ที่มีสารต่าง ๆ เช่น ทาร์และนิโคตินน้อย (Low-yield </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>cegarettes) ไม่ได้ก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพอย่างชัดเจน (NCI fact sheet Questions and Answer About Smoking Cessation ใน </span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<span>http://www.cancer.gov/cancertopics/factsheet/Tobacco/cessation )</span>\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\n<img height=\"315\" width=\"420\" src=\"http://www.thairath.co.th/media/content/2010/04/07/75467_20_4.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 343px; height: 223px\" />\n</p>\n<p style=\"color: #993300\">\nนางสาว วราภรณ์ วิไลกนกพงศ์ เลขที่ 30 ชั้น ม.401\n</p>\n', created = 1717275103, expire = 1717361503, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:48a0eed321755008362821c90f2634eb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจและบุหรี่

รูปภาพของ msw8389
                                                                      โรคถุงลมโป่งพอง

โรคถุงลมโป่งพองเป็นโรคที่เนื้อปอดถูกทำลาย ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลงทำให้ผู้ป่วยมีอาการ หอบเหนื่อย หายใจลำบาก

สาเหตุของโรค

สาเหตุของถุงลมโป่งพองที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ การสูบบุหรี่ นอกจากนั้นยังอาจเกิดจากการสูดดมสิ่งที่เป็นพิษ เช่น มลภาวะ ไอเสีย ฝุ่น สารเคมี เป็นระยะเวลานาน ๆ

โรคถุงลมโป่งพอง โรคถุงลมปอดโป่งพอง

ภาพเปรียบเทียบ ถุงลมปอดในคนปกติ(บน)
และ ถุงลมปอดในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง(ล่าง)

โดยปกติที่แล้วทางเดินหายใจมีลักษณะเหมือนกับต้นไม้กลับหัวโดยกิ่งก้านต้นไม้เปรียบเสมือนหลอดลม และมีถุงลมต่อลงมาจากหลอดลมส่วนปลาย

ในคนทั่วไป หลอดลมจะโล่งและเปิดอยู่ตลอดเวลา ส่วนถุงลมก็จะเป็นที่แลกเปลี่ยนออกซิเจนให้กับร่างกาย

ในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพองทางเดินหายใจ และถุงลมขาดประสิทธิภาพ การแลกเปลี่ยนอากาศจะเป็นไปได้ยากเพราะ

-   ทางเดินหายใจและถุงลมขาดความยืดหยุ่น ก๊าซจึงเข้าออกยาก

-   ผนังของถุงลมบางส่วนถูกทำลายจึงไม่สามารถแลกเปลี่ยนอากาศได้เต็มที่

-   ผนังของหลอดลมหนาผิดปกติและบวม อากาศจึงเข้าไปได้น้อย

-   เซลล์ของทางเดินหายใจมักจะอักเสบมีของเหลว และเมือกเกาะอยู่มาก จึงอุดกั้นทางเดินหายใจ อากาศเข้าไปยาก


อาการ

ในผู้ป่วยที่เป็นโรคถุงลมโป่งพองถุงลมและหลอดลมจะเสียความยืดหยุ่น ทำให้ลมที่จะเข้าปอดน้อยกว่าปกติรวมทั้งการแลกเปลี่ยนออกซิเจนก็ลดน้อยลงด้วย

ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ในระยะเริ่มแรกมักจะไม่มีอาการแต่ต่อมาเมื่อเป็นมากขึ้น อาการก็จะแสดงชัดขึ้นตามลำดับ โดยอาการสำคัญที่พบบ่อยๆ ได้แก่หายใจลำบาก หอบ เหนื่อย และหายใจมีเสียงวี๊ด

การรักษา

ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาใดที่สามารถทำให้โรคถุงลมโป่งพองหายได้ แต่การใช้ยาจะช่วยให้ ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นและปอดถูกทำลายช้าลง

 

 

 

รูปภาพของ msw8384

:)

การสูบบุหรี่กับโรคมะเร็ง

ใจความสำคัญ

# การสูบบุหรี่ทำให้เกิดการเสียชีวิตจากมะเร็งปอดได้ถึง 87% นอกจากนี้ยังสามารถทำให้เกิดมะเร็งกล่องเสียง มะเร็งช่องปาก มะเร็งคอหอย มะเร็งหลอดอาหาร 

มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (ดูคำถามที่ 1)

# ผู้ได้รับควันบุหรี่ในอากาศโดยมิได้สูบ เรียกว่า ผู้สูบบุหรี่มือสอง (Secondhand smoker) มีอัตราการตาย 3,000 คนต่อปีในสหรัฐอเมริกา (ดูคำถามที่ 2)

# บุหรี่มีสารเคมีมากมายหลายพันชนิด ในจำนวนเหล่านี้มีถึง 60 ชนิดที่เป็นสารก่อมะเร็ง (ดูคำถามที่ 3)

# อัตราความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งและโรคจากการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้นตามปริมาณการสูบ (ดูคำถามที่ 4)

# การเลิกสูบบุหรี่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างมากและมีผลทันที ซึ่งรวมไปถึงการลดอัตราเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดและมะเร็งอื่น ๆ โรคหัวใจ, โรคหลอดเลือด

ในสมองตีบหรือเตก และโรคปอดเรื้อรัง (ดูคำถามที่ 5)

การสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้ ซึ่งช่วยลดการเสียชีวิตได้ถึง 30% ของการเสียชีวิตจากมะเร็งทั้งหมดในแต่ละปีในอเมริกา นอกจากนี้การสูบบุหรี่ยังทำให้เกิดโรค

ปอดเรื้อรัง (ถุงลมโปร่งพองและปอดอักเสบเรื้อรัง), โรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดในสมองตีบหรือแตก และต้อกระจก การสูบบุหรี่ในระหว่างตั้งครรภ์จะทำให้เกิดทารกตายระหว่าง

คลอด ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย การตายอย่างกระทันหันของทารก (SIDS) และภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์อื่น ๆ การหยุดสูบบุหรี่จะช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคที่

กล่าวมาได้อย่างมาก รวมไปถึงยังสามารถลดผลกระทบต่อเด็กได้

1. บุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบต่อการเกิดมะเร็งได้อย่างไร?

การสูบบุหรี่ทำให้เกิดการตายจากมะเร็งปอดได้ถึง 87% ซึ่งมะเร็งปอดนั้นจัดว่าเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญจากโรคมะเร็งทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย นอกจากนี้การสูบบุหรี่

ยังก่อให้เกิดมะเร็งมากมาย เช่น มะเร็งกล่องเสียง, มะเร็งช่องปาก, มะเร็งคอหอย, มะเร็งหลอดอาหาร, มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ, มะเร็งไต, มะเร็งตับอ่อน, มะเร็งปากมดลูก, 

มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งเม็ดเลือดขาว (Acute myeloid leukemia)

2. ผู้ไม่สูบบุหรี่จะมีปัจจัยเสี่ยงหรือไม่?

นอกไปจากการสูบบุหรี่โดยตรงแล้ว การได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อม (Secondhand smoker of environmental tobacco smoke; ETS) ก่อให้เกิด

มะเร็งปอด, โรคหัวใจและโรคระบบทางเดินหายใจในเด็ก ได้มากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (การสูบบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมนั้นประกอบไปด้วยการได้รับควันบุหรี่ที่เผาไหม้และควันที่

ผู้สูบบุหรี่หายใจออกมาจากปอด) องค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมอเมริกา (U.S. Environmental Protection Agency; EPA), สถาบันพิษวิทยาด้านสุขภาพสิ่งแวดล้อมอเมริกา 

(The National Institute of Environmental Health Science's National Toxicology Program) และองค์การอนามัยโลกด้านการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับมะเร็ง 

(WHO's International Agency for research on Cancer; IARC) ได้จัดว่าการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมเป็นการก่อให้เกิดมะเร็ง U.SEPA ประมาณการว่า 

การได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการตายจากมะเร็งปอดถึง 3,000 คน ในผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ และยังทำให้เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างในเด็ก 0-18 เดือน 

300,000 คนต่อปีในอเมริกา

3. สารเคมีที่ก่อให้เกิดอันตรายในควันบุหรี่คืออะไร? 

ควันบุหรี่ประกอบไปด้วยสารเคมีประมาณ 4,000 ชนิด ซึ่งรวมไปถึงสารก่อมะเร็งถึง 60 ชนิด สารต่าง ๆ เหล่านี้ เช่น คาร์บอนมอนออกไซด์, ทาร์, สารหนู (Arsenic) 

และตะกั่วเป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์ นิโคตินเป็นสารเสพติดที่อยู่ในยาสูบตามธรรมชาติและทำให้เกิดการเสพติดในผลิตภัณฑ์ยาสูบ รวมไปถึงบุหรี่ นิโคตินถูกดูดซึมเข้าสู่กระแส

เลือดและไปยังสมองได้อย่างรวมเร็วภายในเวลาไม่กี่วินาทีระหว่างการสูบบุหรี่ ซึ่งการก่อให้เกิดการเสพติดของนิโคตินนี้เหมือนกับการเสพติดในเฮโรอีนและโคเคน

4. การได้รับควันบุหรี่ส่งผลกระทบต่อผู้สูบได้อย่างไร?

การสูบบุหรี่ก่อให้เกิดอันตรายเกือบทุกอวัยวะของร่างกาย อัตราการเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ เช่น มะเร็งต่าง ๆ, โรคหัวใจ, โรคเส้นเลือดในสมองตีบหรือแตก, 

โรคทางเดินหายใจนั้นจะเพิ่มขึ้นเมื่อผู้สูบได้รับควันบุหรี่มากขึ้น การสูบบุหรี่มากขึ้นนี้หมายถึงจำนวนมวนที่สูบต่อวัน, ปริมาณของการสูบ (เช่นขนาดและความถึ่ของบุหรี่), 

อายุที่เริ่มสูบบุหรี่, จำนวนปีที่สูบบุหรี่ และการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อม (Secondhand smoke)    

5. การหยุดสูบบุหรี่จะส่งผลกระทบต่อการเกิดมะเร็งและโรคอื่น ๆ ได้อย่างไร?

การหยุดสูบบุหรี่ทำให้เกิดประโยชน์อย่างทันทีและมากมายต่อสุขภาพ การหยุดสูบนั้นจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งปอดและมะเร็งต่าง ๆ, โรคหัวใจ,

โรคหลอดเลือดในสมองตีบหรือแตก และโรคปอดเรื้อรัง ยิ่งผู้สูบหยุดบุหรี่เร็วเท่าไรก็ยิ่งก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพมากขึ้นเท่านั้น ตัวอย่างเช่น มีการวิจัยที่บอกว่าคนที่เลิกสูบบุหรี่

ก่อนอายุ 50 ปี จะลดปัจจัยเสี่ยงต่อการตายใน 15 ปีข้างหน้าได้ถึงครึ่งหนึ่งเมือเทียบกับผู้ที่ยังสูบบุหรี่ต่อ การสูบบุหรี่ที่มีสารต่าง ๆ เช่น ทาร์และนิโคตินน้อย (Low-yield 

cegarettes) ไม่ได้ก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพอย่างชัดเจน (NCI fact sheet Questions and Answer About Smoking Cessation ใน 

http://www.cancer.gov/cancertopics/factsheet/Tobacco/cessation )

นางสาว วราภรณ์ วิไลกนกพงศ์ เลขที่ 30 ชั้น ม.401

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1364 คน กำลังออนไลน์