• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ไม่พบหน้าที่เรียก | Page not found', 'node/207', '', '18.220.232.233', 0, 'f32fd0b7a31237abfef8954c794dd264', 132, 1716002964) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:48d01b01244ab98bf3f5efbeb804ccd0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><b><u>ถ้ำเขาย้อย</u></b> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"http://www.bloggang.com/data/t/tonkla1/picture/1250637965.gif\" width=\"400\" height=\"300\" /> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div> <b><u>ที่ตั้งและอาณาเขต</u></b></div>\n<div>    <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153209657.gif\" width=\"11\" height=\"9\" />อำเภอเขาย้อยตั้งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัดเพชรบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้      » ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอปากท่อ (จังหวัดราชบุรี) </div>\n<div>    <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153209657.gif\" width=\"11\" height=\"9\" />ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบางคนที (จังหวัดสมุทรสงคราม) และอำเภอบ้านแหลม </div>\n<div>    <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153209657.gif\" width=\"11\" height=\"9\" /> ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอบ้านลาด </div>\n<div>    <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153209657.gif\" width=\"11\" height=\"9\" /> ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอหนองหญ้าปล้อง</div>\n<div> </div>\n<div><b><u>ประวัติ</u></b> </div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153209657.gif\" width=\"11\" height=\"9\" />เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2440 โดยมีหลวงพรหมสารเป็นนายอำเภอคนแรก เดิมที่ว่าการอำเภอตั่งอยู่ที่ตำบลห้วยท่าช้าง จึงได้ชื่ออำเภอว่า อำเภอห้วยท่าช้าง ต่อมาได้ทำการย้ายที่ว่าการอำเภอห้วยท่าช้างไปตั้งอยู่ ณ ตำบลหัวสะพาน จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอหัวสะพาน ต่อมาได้ย้ายที่ว่าการอำเภอมาตั่งอยู่ ณ หมู่บ้านน้อย จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบ้านน้อย และภายหลังได้เปลี่ยนเป็น อำเภอเขาย้อย จนถึงปัจุจบัน</div>\n<div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"http://dookdik.kapook.com/upload/whatsnew/37710.gif\" width=\"520\" height=\"83\" /> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> <b><u>ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงดำ หรือลาวโซ่ง</u></b></div>\n<div> </div>\n<div><b><u></u></b><br />\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"http://www.phetchaburi.go.th/teaw_web/images/thaisongdum2.jpg\" width=\"150\" height=\"113\" /><img src=\"http://www.phetchaburi.go.th/teaw_web/images/thaisongdum1.jpg\" width=\"150\" height=\"113\" /></div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div>      <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143738.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงดำ หรือ ลาวโซ่ง ตั้งอยู่หมู่ 5 ตำบลเขาย้อย เดินทางตามทางหลวงหมายเลข 4 เลยจากแยกอำเภอเขาย้อย มาทางตัวเมืองเพชรบุรีประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายตรงทางเข้าโรงเรียนบ้านวัง เข้าไปประมาณ 150 เมตร ไทยทรงดำหรือลาวโซ่ง เป็นชนกลุ่มหนึ่งที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ที่เมืองเดียนเบียนฟู ในเวียดนามเหนือ มีความรู้ความชำนาญในการทอผ้าและจักสาน นิยมแต่งกายด้วยสีดำ มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง ชาวลาวโซ่งส่วนใหญ่ยังคงอาศัยอยู่ในจังหวัดเพชรบุรี</div>\n<div></div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143738.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงดำ เป็นที่เก็บรวบรวมภาพชีวิตความเป็นอยู่ในอดีตของชาวลาวโซ่ง ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา ภายในศูนย์ฯ มีการจัดแสดงเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน บ้านจำลอง อักษรดั้งเดิม สาธิตการทอผ้า และขายสินค้าของที่ระลึก เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องประดับ เปิดให้เข้าชมทุกวัน โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ตั้งแต่เวลา 08.30-17.00 น. และในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี จะมีงานประเพณีไทยทรงดำ ซึ่งถือเป็นงานรื่นเริงสังสรรค์ของชาวลาวโซ่ง โดยจะหมุนเวียนกันจัดไปตามหมู่บ้านต่างๆ</div>\n<div> </div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143738.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />ชาวไทยทรงดำ เป็นชนเผ่าไทยกลุ่มหนึ่งซึ่งมีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่บริเวณดินแดนสิบสองจุไทยในเวียดนามเหนือปัจจุบัน คนไทยมักเรียกพวกเขาว่า \'ลาวโซ่ง\' หรือ \'ไทยโซ่ง\' เนื่องจากอพยพผ่านมาทางประเทศลาว ซึ่งคำว่า โซ่ง เป็นคำที่ถูกเรียกตามชุดแต่งกายเพราะนุ่งส่วงดำหรือกางเกงสีดำ ปัจจุบันนิยมเรียกว่า \'ไทยทรงดำ\' ครั้งอดีตสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี(พ.ศ. 2322) ได้กวาดต้อนไทยดำพร้อมลาวในเวียงจันทน์และเมืองพวนมาอยู่ที่ธนบุรี ต่อมารัชกาลที่ 3 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ลาวเวียงอยู่ที่ จ.ราชบุรี ลาวพวนอยู่ที่ธนบุรี และให้ไทยทรงดำไปตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรี และสืบลูกหลานมาเป็นไทยทรงดำเมืองเพชร ซึ่งตั้งบ้านเรือนกระจายอยู่ในเขตอำเภอเมือง บ้านแหลม บ้านลาด ท่ายาง หนองหญ้าปล้อง แต่ที่หนาแน่นที่สุดคือที่อำเภอเขาย้อย แถบบ้านห้วยท่าช้าง, หนองปรง, หนองจิก, ทับคาง, ดอนทราย และหนองชุมพล</div>\n<div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"http://dookdik.kapook.com/upload/whatsnew/37710.gif\" width=\"520\" height=\"83\" /></div>\n<div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><b><u>สถานที่น่าสนใจในเขตอำเภอเขาย้อย</u></b></div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div>\n<div style=\"text-align: center\"> <b>ถ้ำเขาย้อย</b></div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"http://www.phetchaburi.go.th/teaw_web/images/kohyay1.jpg\" width=\"150\" height=\"135\" /></div>\n<div><b><br /></b></div>\n<div> </div>\n<div>      <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143738.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขาย้อยหลังสถานีรถไฟ เขาย้อยเป็นภูเขาโดดเด่นริมทางหลวงหมายเลข 4 อยู่ก่อนถึงตัวเมืองเพชรบุรีประมาณ 22 กิโลเมตร ในถ้ำนี้มีพระพุทธรูปใหญ่น้อยหลายปางประดิษฐานอยู่ คล้ายกับถ้ำเขาหลวง หรือถ้ำเขาบันไดอิฐ ตามประวัติเล่าว่าพระพุทธรูปเหล่านี้มีมานานแล้ว และต่อมาพระครูอ่อนวัดท้ายตลาดมาบูรณะใหม่ และมีเกร็ดประวัติศาสตร์เล่ากันว่าสมัยเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวยังทรงผนวชอยู่นั้น พระองค์ได้เสด็จธุดงค์วัตรมาปักกลดวิปัสสนาที่หน้าเขาย้อย แล้วทรงย้ายขึ้นมาประทับนั่งกรรมฐานอยู่ในถ้ำเขาย้อยหลายคน</div>\n<div> </div>\n<div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"http://dookdik.kapook.com/upload/whatsnew/37710.gif\" width=\"520\" height=\"83\" /> </div>\n<div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><b>เขาอีโก้</b> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"http://www.chaambeach.com/entertain/day/koayoi_03/pic02.jpg\" height=\"200\" width=\"500\" /> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div>      <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143738.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />อยู่ตำบลห้วยโรง ทางตอนเหนือของอำเภอเขาย้อย บนยอดเขาอีโก้ มีพระเจดีย์สำคัญองค์หนึ่งซึ่งเจ้าอธิการแก้ว วัดพวงมาลัย เมืองแม่กลองมาสร้างไว้เมื่อ พ.ศ. 2455 ในเทศกาลสงกรานต์ ชาวเขาย้อยนิยมเดินขึ้นมาไหว้พระบนยอดเขานี้เป็นประเพณีสืบมา</div>\n<div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> <img src=\"http://dookdik.kapook.com/upload/whatsnew/37710.gif\" width=\"520\" height=\"83\" /></div>\n<div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><b>วัดกุฏิ </b>  </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"http://www.thai-tour.com/thai-tour/central/petchburi/images/wat-kuti/wooden-art.jpg\" height=\"165\" width=\"220\" /> </div>\n<div> </div>\n<div>      <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143738.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />ตั้งอยู่ที่ตำบลบางเค็ม เป็นวัดโบราณ พระอุโบสถสร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง รอบพระอุโบสถด้านนอกสลัก เป็นเรื่องทศชาติ มหาชาติ และไซอิ๋ว หน้าบันสร้างเป็นมุขประเจิด ลายหน้าบันเป็นลายไม้แกะสลัก ทางด้านข้างมีตับ หลังคาปีกนกลาดลง 2 ชั้น เครื่องลำยองเป็นไม้แกะสลัก ลงรักปิดทองประดับกระจก มีลวดลายแกะสลักงดงาม บานประตูเป็นลายเถาทะลุโปร่ง แกะสลักลายลึก ฝีมือปราณีตด้วยช่างชั้นครู</div>\n<div> </div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143767.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />เป็นวัดมหานิกาย ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ตำบลบางเค็ม อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี อยู่ห่างจากทางหลวงสายเพชรเกษม ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ ๑๒๙-๑๓๐ เข้าไปเป็นระยะทาง 1 กิโลเมตรเศษ วัดกุฏิสร้างมาราวปลายสมัยอยุธยา หรือ ต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ประมาณ ๒๐๐ ปีเศษ และมีพัฒนามาเป็นลำดับโดยมีพระครูเกษมสุตคุณ (หลวงพ่อชุ่ม) เจ้าอาวาสขณะนั้น เป็นดำเนินการสร้างอุโบสถหลังนี้ด้วยไม้สักทั้งหลัง และใช้ไม้มะค่าเป็นเสา ไม่ที่ใช้ในการก่อสร้างนี้ ท่านนำมาจากจังหวัดนครสวรรค์ ล่องแม่น้ำเจ้าพระยาจนมาถึงคลองบางเค็มท่าน้ำข้างวัด ท่านตั้งใจสร้างอุโบสถไม้สักแกะสลักนี้ให้เป็นตำนานที่ยิ่งใหญ่ของวงการพระพุทธศาสนา</div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143767.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />สำหรับอุโบสถไม้สักแกะสลักนั้น เริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ปลายรัชกาลที่ ๖ ได้รับพระทานวิสุงคามสีมา ในต้นรัชกาลที่ ๗ คืนเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ ได้ทำการเสร็จเรียบร้อยเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๓ โดยครูช่างฝีมือเมืองเพชรบุรี คือ ช่างเนื่อง ช่างหวาน ช่างปิ่น แกะสลักฝาผนังรอบนอกทั้งหมดเป็นเรื่องราวเทศน์มหาชาติ และ ทศชาติชาดก ช่างเนื่องและช่างหวานยังช่วยกันแกะสลักบานประตู ๒ บาน (ป่าเขาลำเนาไพร) ส่วนช่างระย่อม แกะสลักหน้าต่าง ๑๔ คู่ และบานประตู ๒ บาน (รามเกียรติ) สลักเสลาอย่างอ่อนช้อยและวิจิตรยิ่ง มีค่าทางศิลปะเป็นอันมาก ส่วนฝาผนังที่มีภาพและเรื่องราวของพระโพธิสัตว์อวอิโลกิเตศวร พระถังซำจั๋ง และฝาผนังแกะสลักใต้พระเตมีย์ รวมถึง ช่อฟ้า ใบระกาและหางหงส์นั้น เป็นฝีมือของช่างปูนชาวจีนชื่อ เจ๊กโค่ง ส่วนแรงงานที่ช่วยแกะสลักนั้น เป็นพระภิกษุและสามเณรที่บวชอยู่ในช่วงที่มีการก่อสร้างอุโบสถ (หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ช่างปิ่นได้ทำลายปูนปั้นมาติดที่ซุ้มประตูทั้ง ๔ ช่อง) </div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143767.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ (ตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔) เพราะเป็นอุโบสถไม้ที่มีขนาดใหญ่มีคุณค่าทางศิลปะ ควรแค่แก่การอนุรักษ์เป็นสมบัติของแผ่นดิน และเป็นอุโบสถไม้สักที่แกะสลักโดยรอบแห่งเดียวในประเทศไทย เพราะส่วนใหญ่จะเป็นภาพวาดหรือการแกะสลักเฉพาะหน้าต่างกับประตูเท่านั้น </div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143767.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />อุโบสถไม้สักได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์เสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยกรมศิลปากร เป็นเงินจำนวน ๔,๐๒๐,๐๐๐ บาท อุโบสถไม้สักเป็นความภูมิใจของชาวตำบลบางเค็ม อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เป็นอย่างยิ่งตลอดมา </div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143767.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />อุโบสถไม้สักแกะสลัก เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งแรกที่สำคัญของจังหวัดเพชรบุรี ก่อนผ่านเข้าสู่อำเภอเขาย้อย และจังหวัดเพชรบุรีต่อไป มีประชาชนให้ความสนใจเข้าชมสถาปัตยกรรมอุโบสถไม้สักแกะสลักเป็นจำนวนมาก </div>\n<div>     <img src=\"http://www.bloggang.com/data/praewkwun/picture/1153143767.gif\" width=\"9\" height=\"9\" />ปัจจุบันมีพระครูวิจิตรวัชรธรรม เป็นเจ้าอาวาส อายุ ๗๖ ปี อายุพรรษาที่ ๕๐ ท่านเป็นเจ้าอาวาสมาตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๑๓ ท่านปรับปรุงกุฏิพระ-วัด เครื่องใช้ไม้สอยต่างเป็นไม้สักเกือบทั้งหมด ท่านมีความชำนาญทางงานไม้ ด้วยฝีมือประณีต สวยงาม สร้างไว้ใช้ภายในวัด และหาเจ้าอาวาสวัดใดเทียบท่านได้ยา </div>\n<div> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> <img src=\"http://dookdik.kapook.com/upload/whatsnew/37710.gif\" width=\"520\" height=\"83\" /></div>\n', created = 1716002984, expire = 1716089384, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:48d01b01244ab98bf3f5efbeb804ccd0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เบียร์

รูปภาพของ pnp34342
 
ถ้ำเขาย้อย 
 
 
 
 ที่ตั้งและอาณาเขต
    อำเภอเขาย้อยตั้งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัดเพชรบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้      » ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอปากท่อ (จังหวัดราชบุรี) 
    ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบางคนที (จังหวัดสมุทรสงคราม) และอำเภอบ้านแหลม 
     ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอบ้านลาด 
     ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอหนองหญ้าปล้อง
 
ประวัติ 
     เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2440 โดยมีหลวงพรหมสารเป็นนายอำเภอคนแรก เดิมที่ว่าการอำเภอตั่งอยู่ที่ตำบลห้วยท่าช้าง จึงได้ชื่ออำเภอว่า อำเภอห้วยท่าช้าง ต่อมาได้ทำการย้ายที่ว่าการอำเภอห้วยท่าช้างไปตั้งอยู่ ณ ตำบลหัวสะพาน จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอหัวสะพาน ต่อมาได้ย้ายที่ว่าการอำเภอมาตั่งอยู่ ณ หมู่บ้านน้อย จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบ้านน้อย และภายหลังได้เปลี่ยนเป็น อำเภอเขาย้อย จนถึงปัจุจบัน
 
 
 
 ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงดำ หรือลาวโซ่ง
 

 
      ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงดำ หรือ ลาวโซ่ง ตั้งอยู่หมู่ 5 ตำบลเขาย้อย เดินทางตามทางหลวงหมายเลข 4 เลยจากแยกอำเภอเขาย้อย มาทางตัวเมืองเพชรบุรีประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายตรงทางเข้าโรงเรียนบ้านวัง เข้าไปประมาณ 150 เมตร ไทยทรงดำหรือลาวโซ่ง เป็นชนกลุ่มหนึ่งที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ที่เมืองเดียนเบียนฟู ในเวียดนามเหนือ มีความรู้ความชำนาญในการทอผ้าและจักสาน นิยมแต่งกายด้วยสีดำ มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง ชาวลาวโซ่งส่วนใหญ่ยังคงอาศัยอยู่ในจังหวัดเพชรบุรี
     ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงดำ เป็นที่เก็บรวบรวมภาพชีวิตความเป็นอยู่ในอดีตของชาวลาวโซ่ง ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา ภายในศูนย์ฯ มีการจัดแสดงเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน บ้านจำลอง อักษรดั้งเดิม สาธิตการทอผ้า และขายสินค้าของที่ระลึก เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องประดับ เปิดให้เข้าชมทุกวัน โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ตั้งแต่เวลา 08.30-17.00 น. และในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี จะมีงานประเพณีไทยทรงดำ ซึ่งถือเป็นงานรื่นเริงสังสรรค์ของชาวลาวโซ่ง โดยจะหมุนเวียนกันจัดไปตามหมู่บ้านต่างๆ
 
     ชาวไทยทรงดำ เป็นชนเผ่าไทยกลุ่มหนึ่งซึ่งมีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่บริเวณดินแดนสิบสองจุไทยในเวียดนามเหนือปัจจุบัน คนไทยมักเรียกพวกเขาว่า 'ลาวโซ่ง' หรือ 'ไทยโซ่ง' เนื่องจากอพยพผ่านมาทางประเทศลาว ซึ่งคำว่า โซ่ง เป็นคำที่ถูกเรียกตามชุดแต่งกายเพราะนุ่งส่วงดำหรือกางเกงสีดำ ปัจจุบันนิยมเรียกว่า 'ไทยทรงดำ' ครั้งอดีตสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี(พ.ศ. 2322) ได้กวาดต้อนไทยดำพร้อมลาวในเวียงจันทน์และเมืองพวนมาอยู่ที่ธนบุรี ต่อมารัชกาลที่ 3 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ลาวเวียงอยู่ที่ จ.ราชบุรี ลาวพวนอยู่ที่ธนบุรี และให้ไทยทรงดำไปตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรี และสืบลูกหลานมาเป็นไทยทรงดำเมืองเพชร ซึ่งตั้งบ้านเรือนกระจายอยู่ในเขตอำเภอเมือง บ้านแหลม บ้านลาด ท่ายาง หนองหญ้าปล้อง แต่ที่หนาแน่นที่สุดคือที่อำเภอเขาย้อย แถบบ้านห้วยท่าช้าง, หนองปรง, หนองจิก, ทับคาง, ดอนทราย และหนองชุมพล
 
 
สถานที่น่าสนใจในเขตอำเภอเขาย้อย
 
 
 
 ถ้ำเขาย้อย
 

 
      ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขาย้อยหลังสถานีรถไฟ เขาย้อยเป็นภูเขาโดดเด่นริมทางหลวงหมายเลข 4 อยู่ก่อนถึงตัวเมืองเพชรบุรีประมาณ 22 กิโลเมตร ในถ้ำนี้มีพระพุทธรูปใหญ่น้อยหลายปางประดิษฐานอยู่ คล้ายกับถ้ำเขาหลวง หรือถ้ำเขาบันไดอิฐ ตามประวัติเล่าว่าพระพุทธรูปเหล่านี้มีมานานแล้ว และต่อมาพระครูอ่อนวัดท้ายตลาดมาบูรณะใหม่ และมีเกร็ดประวัติศาสตร์เล่ากันว่าสมัยเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวยังทรงผนวชอยู่นั้น พระองค์ได้เสด็จธุดงค์วัตรมาปักกลดวิปัสสนาที่หน้าเขาย้อย แล้วทรงย้ายขึ้นมาประทับนั่งกรรมฐานอยู่ในถ้ำเขาย้อยหลายคน
 
 
 
 
เขาอีโก้ 
 
 
 
      อยู่ตำบลห้วยโรง ทางตอนเหนือของอำเภอเขาย้อย บนยอดเขาอีโก้ มีพระเจดีย์สำคัญองค์หนึ่งซึ่งเจ้าอธิการแก้ว วัดพวงมาลัย เมืองแม่กลองมาสร้างไว้เมื่อ พ.ศ. 2455 ในเทศกาลสงกรานต์ ชาวเขาย้อยนิยมเดินขึ้นมาไหว้พระบนยอดเขานี้เป็นประเพณีสืบมา
 
 
 
วัดกุฏิ   
 
 
 
      ตั้งอยู่ที่ตำบลบางเค็ม เป็นวัดโบราณ พระอุโบสถสร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง รอบพระอุโบสถด้านนอกสลัก เป็นเรื่องทศชาติ มหาชาติ และไซอิ๋ว หน้าบันสร้างเป็นมุขประเจิด ลายหน้าบันเป็นลายไม้แกะสลัก ทางด้านข้างมีตับ หลังคาปีกนกลาดลง 2 ชั้น เครื่องลำยองเป็นไม้แกะสลัก ลงรักปิดทองประดับกระจก มีลวดลายแกะสลักงดงาม บานประตูเป็นลายเถาทะลุโปร่ง แกะสลักลายลึก ฝีมือปราณีตด้วยช่างชั้นครู
 
     เป็นวัดมหานิกาย ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ตำบลบางเค็ม อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี อยู่ห่างจากทางหลวงสายเพชรเกษม ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ ๑๒๙-๑๓๐ เข้าไปเป็นระยะทาง 1 กิโลเมตรเศษ วัดกุฏิสร้างมาราวปลายสมัยอยุธยา หรือ ต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ประมาณ ๒๐๐ ปีเศษ และมีพัฒนามาเป็นลำดับโดยมีพระครูเกษมสุตคุณ (หลวงพ่อชุ่ม) เจ้าอาวาสขณะนั้น เป็นดำเนินการสร้างอุโบสถหลังนี้ด้วยไม้สักทั้งหลัง และใช้ไม้มะค่าเป็นเสา ไม่ที่ใช้ในการก่อสร้างนี้ ท่านนำมาจากจังหวัดนครสวรรค์ ล่องแม่น้ำเจ้าพระยาจนมาถึงคลองบางเค็มท่าน้ำข้างวัด ท่านตั้งใจสร้างอุโบสถไม้สักแกะสลักนี้ให้เป็นตำนานที่ยิ่งใหญ่ของวงการพระพุทธศาสนา
     สำหรับอุโบสถไม้สักแกะสลักนั้น เริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ปลายรัชกาลที่ ๖ ได้รับพระทานวิสุงคามสีมา ในต้นรัชกาลที่ ๗ คืนเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ ได้ทำการเสร็จเรียบร้อยเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๓ โดยครูช่างฝีมือเมืองเพชรบุรี คือ ช่างเนื่อง ช่างหวาน ช่างปิ่น แกะสลักฝาผนังรอบนอกทั้งหมดเป็นเรื่องราวเทศน์มหาชาติ และ ทศชาติชาดก ช่างเนื่องและช่างหวานยังช่วยกันแกะสลักบานประตู ๒ บาน (ป่าเขาลำเนาไพร) ส่วนช่างระย่อม แกะสลักหน้าต่าง ๑๔ คู่ และบานประตู ๒ บาน (รามเกียรติ) สลักเสลาอย่างอ่อนช้อยและวิจิตรยิ่ง มีค่าทางศิลปะเป็นอันมาก ส่วนฝาผนังที่มีภาพและเรื่องราวของพระโพธิสัตว์อวอิโลกิเตศวร พระถังซำจั๋ง และฝาผนังแกะสลักใต้พระเตมีย์ รวมถึง ช่อฟ้า ใบระกาและหางหงส์นั้น เป็นฝีมือของช่างปูนชาวจีนชื่อ เจ๊กโค่ง ส่วนแรงงานที่ช่วยแกะสลักนั้น เป็นพระภิกษุและสามเณรที่บวชอยู่ในช่วงที่มีการก่อสร้างอุโบสถ (หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ช่างปิ่นได้ทำลายปูนปั้นมาติดที่ซุ้มประตูทั้ง ๔ ช่อง) 
     กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ (ตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔) เพราะเป็นอุโบสถไม้ที่มีขนาดใหญ่มีคุณค่าทางศิลปะ ควรแค่แก่การอนุรักษ์เป็นสมบัติของแผ่นดิน และเป็นอุโบสถไม้สักที่แกะสลักโดยรอบแห่งเดียวในประเทศไทย เพราะส่วนใหญ่จะเป็นภาพวาดหรือการแกะสลักเฉพาะหน้าต่างกับประตูเท่านั้น 
     อุโบสถไม้สักได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์เสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยกรมศิลปากร เป็นเงินจำนวน ๔,๐๒๐,๐๐๐ บาท อุโบสถไม้สักเป็นความภูมิใจของชาวตำบลบางเค็ม อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เป็นอย่างยิ่งตลอดมา 
     อุโบสถไม้สักแกะสลัก เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งแรกที่สำคัญของจังหวัดเพชรบุรี ก่อนผ่านเข้าสู่อำเภอเขาย้อย และจังหวัดเพชรบุรีต่อไป มีประชาชนให้ความสนใจเข้าชมสถาปัตยกรรมอุโบสถไม้สักแกะสลักเป็นจำนวนมาก 
     ปัจจุบันมีพระครูวิจิตรวัชรธรรม เป็นเจ้าอาวาส อายุ ๗๖ ปี อายุพรรษาที่ ๕๐ ท่านเป็นเจ้าอาวาสมาตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๑๓ ท่านปรับปรุงกุฏิพระ-วัด เครื่องใช้ไม้สอยต่างเป็นไม้สักเกือบทั้งหมด ท่านมีความชำนาญทางงานไม้ ด้วยฝีมือประณีต สวยงาม สร้างไว้ใช้ภายในวัด และหาเจ้าอาวาสวัดใดเทียบท่านได้ยา 
 
 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 231 คน กำลังออนไลน์