• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f8722b18583b4fa2ff8930dc9b7e9120' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: large; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #0099ff\" lang=\"TH\">ขอทำเรื่องใหม่งานเกี่ยวกับตัวเอง อิอิ</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #0099ff\" lang=\"TH\"></span></b> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #7030a0\" lang=\"TH\">เรื่องนาฏศิลป์ไทย</span></b><b><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #7030a0\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: large; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #990000\" lang=\"TH\">ประวัตินาฏศิลป์ไทย</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #990000\"><br />\n</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">นาฏศิลป์  เป็นศิลปะแห่งการละคร  ฟ้อนรำ  และดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ  กำหนดว่าต้องประกอบไปด้วย  ศิลปะ  </span>3  <span lang=\"TH\">ประการคือ  การฟ้อนรำ  การดนตรี  และการขับร้องรวมเข้าด้วยกัน  ซึ่งทั้ง  </span>3  <span lang=\"TH\">สิ่งนี้เป็นอุปนิสัยของคนมาแต่ดึกดำบรรพ์นาฏศิลป์ไทยมีที่มาและเกิดขึ้นจากสาเหตุตามแนวคิดต่าง ๆ เช่นเกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือนทางอารมณ์  ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งความสุขหรือความทุกข์แล้วสะท้อนออกมาเป็นท่าทางแบบธรรมชาติและประดิษฐ์ขึ้นเป็นท่าทางลีลาการฟ้อนรำหรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์  เทพเจ้าโดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการเต้นรำ  ขับร้องฟ้อนรำให้เกิดความพึงพอใจ  เป็นต้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">นอกจากนี้  นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย  เช่นวัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวัฒนกรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้าและตำนานการฟ้อนรำ โดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม</span> <span lang=\"TH\">คือ ผ่านชนชาติชวาและเขมรก่อนที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย  เช่นตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราช  ที่สร้างเป็นท่าการร่ายรำของ พระอิศวรซึ่งมีทั้งหมด  </span>108  <span lang=\"TH\">ท่า  หรือ  </span>108<span lang=\"TH\">กรณะ  โดยทรงฟ้อนรำครั้งแรกในโลก  ณตำบลจิทรัมพรัม  เมืองมัทราส  อินเดียใต้ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดู  นับเป็นคัมภีร์สำหรับการฟ้อนรำแต่งโดยพระภรตมุนี  เรียกว่า  คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ถือเป็นอิทธิพลสำคัญต่อแบบแผนการสืบสานและการถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบแบบแผนการเรียน  การฝึกหัด  จารีต  ขนบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">        <span lang=\"TH\">อย่างไรก็ตามบรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐานว่าอารยธรรมทางศิลปะด้านนาฎศิลป์ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทจยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุทธยาตามประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฎราชที่สร้างขึ้นในปีพ.ศ. </span>1800  <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นระที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัยดังนั้นที่รำไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุทธยาและมีการแก้ไข  ปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนำมาสู่การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนำมาสู่การประดิษฐ์ท่าทางร่ายรำและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%\"><o:p> </o:p></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">ประเภทของนาฎศิลป์ไทย</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\"><o:p> </o:p></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">                </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">นาฎศิลป์</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">คือ  การร่ายรำที่มนุษย์ได้ปรุงแต่งจากลีลาตามธรรมชาติให้สวยสดงดงาม  โดยมีดนตรีเป็นองค์ประกอบในการร่ายรำ</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">                <span lang=\"TH\">นาฎศิลป์ของไทย  แบ่งออกตามลักษณะของรูปแบบการแสดงเป็นประเภทใหญ่ ๆ </span>  4<span lang=\"TH\">ประเภท  คือ</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">        1.<span class=\"apple-converted-space\"> </span> </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">โขน</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">เป็นการแสดงนาฎศิลป์ชั้นสูงของไทยที่มีเอกลักษณ์  คือผู้แสดงจะต้องสวมหัวที่เรียกว่า  หัวโขน และใช้ลีลาท่าทางการแสดงด้วยการเต้นไปตามบทพากย์การเจรจาของผู้พากย์และตามทำนองเพลงหน้าพาทย์ที่บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์เรื่องที่นิยมนำมาแสดง คือ พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์แต่งการเลียนแบบเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ที่เป็นเครื่องต้น เรียกว่าการแต่งกายแบบ</span>“<span lang=\"TH\">ยื่นเครื่อง</span>” <span lang=\"TH\">มีจารีตขั้นตอนการแสดงที่เป็นแบบแผนนิยมจัดแสดงเฉพาะพิธีสำคัญได้แก่ งานพระราชพิธีต่าง  ๆ</span><br />\n2.<span class=\"apple-converted-space\"> </span> </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">ละคร</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">เป็นศิลปะการร่ายรำที่เล่นเป็นเรื่องราวมีพัฒนาการมาจากการเล่านิทานละครมีเอกลักษณ์ในการแสดงและการดำเนินเรื่องด้วยกระบวนลีลาท่ารำเข้าบทร้อง  ทำนองเพลงและเพลงหน้าพาทย์ที่บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์มีแบบแผนการเล่นที่เป็นทั้งของชาวบ้านและของหลวงที่เรียกว่าละครโนราชาตรี  ละครนอก  ละครใน  เรื่องที่นิยมนำมาแสดงคือพระสุธน  สังข์ทอง คาวี  อิเหนา  อุณรุท  นอกจากนี้ยังมีละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่อีกหลายชนิดการแต่งกายของละครจะเลียนแบบเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์  เรียกว่าการแต่งการแบยืนเครื่องนิยมเล่นในงานพิธีสำคัญและงานพระราชพิธีของพระมหากษัตริย์</span><br />\n3.   </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">ระ  และ ระบำ</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำประกอบเพลงดนตรีและบทขับร้องโดยไม่เล่นเป็นเรื่องราว  ในที่นี้หมายถึงรำและระบำที่มีลักษณะเป็นการแสดงแบบมาตรฐานซึ่งมีความหมายที่จะอธิบายได้พอสังเขป  ดังนี้  </span><br />\n3.1</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">รำ</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">หมายถึง  ศิลปะแห่งการรายรำที่มีผู้แสดง  ตั้งแต่  </span>1-2<span lang=\"TH\">คน  เช่น  การรำเดี่ยว  การรำคู่การรำอาวุธ  เป็นต้น มีลักษณะการแต่งการตามรูปแบบของการแสดงไม่เล่นเป็นเรื่องราวอาจมีบทขับร้องประกอบการรำเข้ากับทำนองเพลงดนตรีมีกระบวนท่ารำ  โดยเฉพาะการรำคู่จะต่างกับระบำเนื่องจากท่ารำจะมีความเชื่อมโยงสอดคล้องต่อเนื่องกันและเป็นบทเฉพาะสำหรับผู้แสดงนั้น ๆ  เช่น รำเพลงช้าเพลงเร็วรำแม่บท  รำเมขลา </span>–<span lang=\"TH\">รามสูร  เป็นต้น</span><br />\n3.2<span class=\"apple-converted-space\"> </span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">ระบำ</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">หมายถึง  ศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีผู้เล่นตังแต่  </span>2 <span lang=\"TH\">คนขึ้นไป  มีลักษณะการแต่งการคล้ายคลึงกันกระบวนท่ารายรำคล้าคลึงกัน  ไม่เล่นเป็นเรื่องราวอาจมีบทขับร้องประกอบการรำเข้าทำนองเพลงดนตรีซึ่งระบำแบบมาตรฐานมักบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์การแต่งการนิยมแต่งกายยืนเครื่องพระนาง-หรือแต่งแบบนางในราชสำนัก  เช่นระบำสี่บท  ระบำกฤดาภินิหาร  ระบำฉิ่งเป็นต้น</span><br />\n4.  </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">การแสดงพื้นเมือง</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">  <span lang=\"TH\">เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีทั้งรำ  ระบำหรือการละเล่นที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชนตามวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาคซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นภูมิภาคได้ </span>4  <span lang=\"TH\">ภาคดังนี้</span><br />\n4.1</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">การแสดงพี้นเมืองภาคเหนือ</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">เป็นศิลปะการรำ  และการละเล่น  หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า</span>“<span lang=\"TH\">ฟ้อน</span>”  <span lang=\"TH\">การฟ้อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนาและกลุ่มชนเผ่าต่าง ๆ  เช่น  ชาวไต  ชาวลื้อ  ชาวยองชาวเขิน  เป็นต้น  ลักษณะของการฟ้อน  แบ่งเป็น  </span>2<span lang=\"TH\">แบบ  คือ  แบบดั้งเดิมและแบบที่ปรับปรุงขึ้นใหม่  แต่ยังคงมีการรักษาเอกลักษณ์ทางการแสดงไว้คือมีลีลาท่ารำที่แช่มช้าอ่อนช้อยมีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบกับการบรรเลงและขับร้องด้วยวงดนตรีพื้นบ้าน</span> <span lang=\"TH\">เช่น วงสะล้อ ซอ ซึง วงปูเจ่ วงกลองแอว เป็นต้นโอกาสที่แสดงมักเล่นกันในงานประเพณีหรือต้นรับแขกบ้านแขกเมือง ได้แก่ ฟ้อนเล็บฟ้อนเทียน</span> <span lang=\"TH\">ฟ้อนครัวทาน ฟ้อนสาวไหมและฟ้อนเจิง</span><br />\n4.2<span class=\"apple-converted-space\"> </span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\"> <span lang=\"TH\">การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง</span></span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">เป็นศิลปะการร่ายรำและการละเล่นของชนชาวพื้นบ้านภาคกลางซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรมศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตและพื่อความบันเทิงสนุกสนานเป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการทำงานหรือเมื่อเสร็จจากเทศการฤดูเก็บเก็บเกี่ยว  เช่นการเล่นเพลงเกี่ยวข้าว  เต้นกำรำเคียว  รำโทนหรือรำวงรำเถิดเทอง  รำกลองยาว  เป็นต้น  มีการแต่งกายตามวัฒนธรรมของท้องถิ่นและใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้าน  เช่น  กลองยาว กลองโทน  ฉิ่งฉาบ  กรับ  และโหม่ง</span><br />\n4.3</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">เป็นศิลปะการรำและการเล่นของชาวพื้นบ้านภาคอีสาน  หรือภาคตะวนออกเฉียงเหนือของไทย  แบ่งได้เป็น  </span>2  <span lang=\"TH\">กลุ่มวัฒนธรรมใหญ่ ๆ คือ  กลุ่มอีสานเหนือมีวัฒนธรรมไทยลาวซึ่งมักเรียกการละเล่นว่า  </span>“<span lang=\"TH\">เซิ้ง</span>  <span lang=\"TH\">ฟ้อน  และหมอลำ</span>”  <span lang=\"TH\">เช่น  เซิ้งบังไฟ  เซิ้งสวิง  ฟ้อนภูไท  ลำกลอนเกี้ยวลำเต้ย  ซึ่งใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้านประกอบ  ได้แก่  แคนพิณ  ซอ  กลองยาว  อีสาน  ฉิ่ง  ฉาบ  ฆ้องและกรับ  ภายหลังเพิ่มเติมโปงลางและโหวดเข้ามาด้วย  ส่วนกลุ่มอีสานใต้ได้รับอิทธิพลไทยเขมร</span>  <span lang=\"TH\">มีการละเล่นที่เรียกว่า  เรือม  หรือเร็อม  เช่น  เรือมลูดอันเร  หรือรำกระทบสากรำกระเน็บติงต็อง  หรือระบำตั๊กแตน ตำข้าว  รำอาไยหรือรำตัด  หรือเพลงอีแซวแบบภาคกลางวงดนตรี  ที่ใช้บรรเลง คือวงมโหรีอีสานใต้ มีเครื่องดนตรี  คือ  ซอด้วง  ซอด้วงซอครัวเอก  กลองกันตรึม  พิณ  ระนาด  เอกไม้ปี่สไล  กลองรำมะนาและเครื่องประกอบจังหวะ</span> <span lang=\"TH\">การแต่งกายประกอบการแสดงเป็นไปตามวัฒนธรรมของพื้นบ้านลักษณะท่ารำและท่วงทำนองดนตรีในการแสดงค่อนข้างกระชับ รวดเร็ว</span> <span lang=\"TH\">และสนุกสนาน</span><br />\n4.4</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">การแสดงพื้นเมืองภาคใต้</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> </span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">เป็นศิลปะการรำและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคใต้อาจแบ่งตามกลุ่มวัฒนธรรมไ</span>2  <span lang=\"TH\">กลุ่มคือ  วัฒนธรรมไทยพุทธ  ได้แก่การแสดงโนรา  หนังตะลุง  เพลงบอก  เพลงนาและวัฒนธรรมไทยมุสลิม  ได้แก่  รองเง็ง  ซำแปง  มะโย่ง(การแสดงละคร)  ลิเกฮูลู  (คล้ายลิเกภาคกลาง)  และซิละมีเครื่องดนตรีประกอบที่สำคัญ  เช่น  กลองโนรา  กลองโพนกลองปืด </span>  <span lang=\"TH\">โทน  ทับ  กรับพวงโหม่ง  ปี่กาหลอ  ปี่ไหน  รำมะนา  ไวโอลินอัคคอร์เดียน  ภายหลังได้มีระบำที่ปรับปรุงจากกิจกรรมในวิถีชีวิตศิลปาต่างๆ เข่น ระบำร่อนแต่  การีดยาง  ปาเตต๊ะ  เป็นต้น</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p> </o:p></span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma; color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">ดนตรีและเพลงประกอบการแสดงนาฏศิลป์</span></b></span>\n</p>\n<p></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">ดนตรี เพลง และการขับร้องเพลงไทยสำหรับประกอบการแสดงสามารถแบ่งออกเป็น </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">2 <span lang=\"TH\">กลุ่ม คือดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย และเพลงสำหรับประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\">1. <span lang=\"TH\">ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทยประกอบด้วย</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: green\">1.1<span lang=\"TH\">ดนตรีประกอบการแสดงโขน </span>– <span lang=\"TH\">ละคร</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">วงดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงโขนและละครของไทยคือวงปี่พาทย์ ซึ่งมีขนาดของวงเป็นแบบวงประเภทใดนั้นข้นอยุ่กับลักษณะของการแสดงนั้น ๆด้วย เช่น การแสดงโขนนั่งราวใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้า </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">2 <span lang=\"TH\">วง การแสดงละครในอาจใช้วงปี่พาทย์เครื่องคู่หรือการแสดงดึกดำบรรพ์ต้องใช้วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์เป็นต้น</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>1.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: green\">1.2<span lang=\"TH\">ดนตรีประกอบการแสดงรำและระบำมาตราฐาน</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">การแสดงรำและระบำที่เป็นชุดการแสดงที่เรียกว่ารำมาตราฐานและระบำมาตราฐานนั้นเครื่องดนตรีทีใช้ประกอบการแสดงอาจมีการนำเครื่องดนตรีบางชนิดเข้ามาประกอบการแสดงจะใช้วงปี่พาทย์บรรเลง เช่น ระบำกฤดาภินิหาร อาจนำเครื่องดนตรี ขิมหรือซอด้วงม้าล่อ กลองต๊อก และกลองแด๋ว มาบรรเลงในช่วงท้ายของการรำที่เป็นเพลงเชิดจีนก็ได้</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: green\">         1.3 <span lang=\"TH\">ดนตรีประกอบการแสดงพื้นเมือง</span> </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงพื้นเมืองภาคต่าง ๆของไทยจะเป็นวงดนตรีพื้นบ้าน ซึ่งนับเป็นเอกลักษณ์ที่มีคุณค่าของแต่ละภูมิภาคได้แก่</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>1.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #cc00ff\" lang=\"TH\">ดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\"> <span lang=\"TH\">มีเครื่องดนตรี เช่น พิณเปี๊ยะ ซึง สะล้อ ปี่แน ปี่กลาง ปี่ก้อย ปี่ตัดปี่เล็ก ป้าดไม้ (ระนาดไม้) ป้าดเหล็ก (ระนาดเหล็ก ) ป้าดฆ้อง (ฆ้องวงใหญ่)ฆ้องหุ่ย ฆ้องเหม่ง กลองหลวง กลองแอว กลองปู่เจ่ กลองปูจา กลองสะบัดไชยกลองมองเซิง กลองเต่งทิ้ง กลองม่าน และกลองตะโล้ดโป้ด เมื่อนำมารวมเป็นวงจะได้วงต่าง ๆ คือ วงสะล้อ ซอ ซึง วงปู่จา วงกลองแอว วงกลองม่าน วงปี่จุมวงเติ่งทิ้ง วงกลองปูจาและวงกลองสะบัดไชย</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>2.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #cc00ff\" lang=\"TH\">ดนตรีพื้นเมืองภาคกลาง</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\"> <span lang=\"TH\">เป็นเครื่องดนตรีประเภทเดียวกับวงดนตรีหลักของไทยคือวงปี่พาทย์และเครื่องสาย ซึ่งลักษณะในการนำมาใช้อำนาจนำมาเป็นบางส่วนหรือบางประเภทเช่น กลองตะโพนและเครื่องประกอบจังหวะนำมาใช้ในการเล่นเพลงอีแซว เพลงเกี่ยวข้าวกลองรำมะนาใช้เล่นเพลงลำตัด กลองยาวใช้เล่นรำเถิดเทิง กลองโทนใช้เล่นรำวงและรำโทนส่วนเครื่องเดินทำนองก็นิยมใช้ระนาด ซอหรือปี่ เป็นต้น</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>3.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #cc00ff\" lang=\"TH\">ดนตรีพื้นเมืองภาคอีสาน</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\"> <span lang=\"TH\">มีเครื่องดนตรีสำคัญ ได้แก่ พิณ อาจเรียกต่างกันไปตามท้องถิ่น เช่น ซุงหมากจับปี่ หมากตับแต่งและหมากต๊ดโต่ง ซอ โปงลาง แคน โหวด กลองยาวอีสานกลองกันตรึม ซอกันตรึม ซอด้วง ซอตรัวเอก ปี่อ้อ ปราเตรียง ปี่สไลเมื่อนำมาประสมวงแล้วจะได้วงดนตรีพื้นเมือง คือ วงโปงลาง วงแคน วงมโหรีอีสานใต้วงทุ่มโหม่ง และวงเจรียงเมริน</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>4.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #cc00ff\" lang=\"TH\">ดนตรีพื้นเมืองภาคใต้</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">มีเครื่องดนตรีที่สำคัญ ได้แก่ กลองโนรากลองชาตรีหรือกลองตุ๊ก กลองโพน กลองปืด โทน กลองทับ รำมะนา โหม่ง ฆ้องคู่ ปี่กาหลอปี่ไหน กรับพวงภาคใต้ แกระ และนำเครื่องดนตรีสากลเข้ามาผสม ได้แก่ ไวโอลิน กีต้าร์เบนโจ อัคคอร์เดียน ลูกแซ็ก ส่วนการประสมวงนั้นเป็นการประสมวงตามประเภทของการแสดงแต่ละชนิด</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\">2.<span lang=\"TH\">เพลงไทยสำหรับประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย</span></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff6600\">2.1 <span lang=\"TH\">เพลงไทยประกอบการแสดงโขน ละคร รำและระบำมาตราฐาน</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">เพลงไทยที่ใช้บรรเลงและขับร้องประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย โขนละคร รำและระบำมาตราฐาน</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">นั้นแบ่งได้เป็น </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">2 <span lang=\"TH\">ประเภทดังนี้</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 72pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>1.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\" lang=\"TH\">เพลงหน้าพาทย์</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">ได้แก่เพลงที่ใช้บรรเลงหรือขับร้องประกอบอากัปกิริยาของตัวโขน ละคร เช่น การเดินทางยกทัพ สู้รบ แปลงกาย และนำเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้ในการรำและระบำ เช่น รัว โคมเวียนชำนาญ ตระบองกัน เป็นต้น</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 72pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>2.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\" lang=\"TH\">เพลงขับร้องรับส่ง</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\"> <span lang=\"TH\">คือเพลงไทยทีนำมาบรรจุไว้ในบทโขน </span>– <span lang=\"TH\">ละครอาจนำมาจากเพลงตับ เถา หรือเพลงเกร็ดเพื่อบรรเลงขับร้องประกอบการรำบทหรือใช้บทของตัวโขนละครหรือเป็นบทขับร้องในเพลงสำหรับการรำแลระบำ เช่น เพลงช้าปี่ เพลงขึ้นพลับพลาเพลงนกกระจอกทอง เพลงลมพัดชายเขา เพลงเวสสุกรรม เพลงแขกตะเขิ่ง เพลงแขกเจ้าเซ็นเป็นต้น</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff6600\">2.2 <span lang=\"TH\">เพลงไทยประกอบการแสดงพื้นเมืองเพลงไทยที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\"> <span lang=\"TH\">เป็นบทเพลงพื้นบ้านที่ใช้บรรเลงและขับร้องประกอบการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองโดยแบ่งออกตามภูมิภาคดังนี้</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 72pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>1.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\"> </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">เพลงประกอบการฟ้อนเล็บได้แก่ เพลงแหย่งหลวง ฟ้อนเทียนได้แก่ เพลงลาวเสี่ยงเทียน ฟ้อนสาวไหม ได้แก่ เพลงปราสาทไหวและสาวสมเด็จ ระบำซอได้แก่ ทำนองซอยิ๊และซอจ๊อยเชียงแสน บรเลง เพลงลาวจ้อย ต้อยตลิ่งและลาวกระแซเป็นต้น</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 72pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>2.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคกลาง</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\"> </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">เพลงประกอบการเต้นรำกำเคียว ได้แก่ เพลงระบำชาวนา เป็นต้น</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 72pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>3.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคอีสาน</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\"> </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">เพลงประกอบการแสดงเซิ้งโปงลาง บรรเลงเพลงลายโปงลางเซิ้งภูไทย บรรเลงลายลำภูไทย เป็นต้น</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 72pt; text-indent: -18pt; line-height: normal\">\n<!--[if !supportLists]--><!--[if !supportLists]--></p><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><span>4.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\" lang=\"TH\">เพลงบรรเลงและขับร้องประกอบนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: fuchsia\"> </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">เพลงประกอบการแสดงลิเกป่า นิยมใช้เพลงตะลุ่มโปง เพลงสร้อยสนเพลงดอกดิน การแสดงชุดรองเง็งบรรเลงเพลงลาฆูดูวอ เพลงมะอีนังลามา เพลงลานังเพลงปูโจ๊ะปิชัง เป็นต้น</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'MS Sans Serif\',serif; color: #ffccff\"> <span><img src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\dg\\LOCALS~1\\Temp\\msohtmlclip1\\01\\clip_image001.gif\" alt=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/title_dress.gif\" v:shapes=\"Picture_x0020_1\" width=\"276\" height=\"34\" /></span></span></b>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; line-height: normal\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">การแต่งกายนาฏศิลป์ไทย</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #00b050\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">การแสดงนาฏศิลป์ไทยทั้งโขนและละครนั้นได้จำแนกผู้แสดงออกเป็น </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">4 <span lang=\"TH\">ประเภทตามลักษณะของบทบาทและการฝึกหัดคือ ตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์และตัวลิงซึ่งในแต่ละตัวละครนั้นนอกจากบุคลิกลักษณะที่ถ่ายทอดออกมาให้ผู้ชมทราบจากการแสดงแล้ว เครื่องแต่งการของผู้แสดงก็ยังเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญอย่างหนึ่งที่บ่งบอกว่าผู้นั้นรับบทบาทแสดงเป็นตัวใด</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">เครื่องแต่งการนาฏศิลป์ไทยมีความวดวามและกรรมวิธีการประดิษฐ์ที่วิจิตรบรรจงเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้เพราะที่มาของเครื่องแต่งกายนาฎศิลป์ไทยนั้นจำลองแบบมาจากเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์(เครื่องต้น)แล้วนำมาพัฒนาให้เหมาะสมต่อการแสดง ซึ่งจำแนกออกเป็น </span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">4 <span lang=\"TH\">ฝ่าย ดังนี้</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p></o:p></span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 15px; font-family: Arial\"><b></b></span>\n</p>\n<p style=\"display: inline ! important\" align=\"CENTER\">\n<b><span style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ffccff\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-weight: normal; font-size: medium; font-family: Tahoma; color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">1.    <span lang=\"TH\">เครื่องแต่งตัวพระ คือเครื่องแต่งกายของผู้แสดงหรือผู้รำที่แสดงเป็นผู้ชายประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่องแต่งกาย  ดังนี้</span></span></b></span> </span></b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><b></b></p>\n<p align=\"CENTER\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><br />\n</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"font-family: Arial; font-size: 15px\" align=\"center\">\n<img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/man_dress.gif\" width=\"380\" border=\"0\" height=\"400\" />\n</p>\n<ul style=\"font-family: Arial; font-size: 15px\">\n<li> \n<ul>\n </ul>\n</li>\n</ul>\n<p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Arial; color: #ff0000\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 15px\"></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">2.    <span lang=\"TH\">เครื่องแต่งตัวนาง คือเครื่องแต่งกายของผู้แสดงหรือผู้รำที่แสดงเป็นหญิงประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่องแต่งกายดังนี้</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"font-family: Arial; font-size: 15px\" align=\"center\">\n<img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/woman_dress.gif\" width=\"380\" border=\"0\" height=\"400\" />\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff6600\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff6600\" lang=\"TH\">สำหรับเครื่องแต่งตัวพระและนางดังกล่าวนี้จะใช้แต่งกายสำหรับผู้ระบำมาตราฐาน เช่น ระบำสี่บทระบำพรหมาสตร์และระบำกฤดาภินิหาร เป็นต้น และยังใช้แต่งกายสำหรับตัวละครในการแสดงละครนอกและละครในด้วยส่วนในระบำเบ็ดเตล็ด เช่น ระบำนพรัตน์ ระบำตรีลีลา ระบำไตรภาคี ระบำไกรลาสสำเริงระบำโบราณคดีชุดต่าง ๆ หรือระบำสัตว์ต่าง ๆจะใช้เครื่องแต่งกายตามความเหมาะสมกับการแสดงนั้น ๆ เช่น นุ่งโจงกระเบน ห่มผ้าสไบและสวมชุดไทยต่าง ๆ เป็นต้นตลอดจนยังมีการแสดงหรือการฟ้อนรำแบบพื้นเมืองของท้องถิ่นต่าง ๆซึ่งจะมีการแต่งกายที่แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่นด้วย</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Arial; color: #0000ff\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 15px\"></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">3.    <span lang=\"TH\">เครื่องแต่งตัวยักษ์(ทศกัณฐ์ ) คือเครื่องแต่งกายของผู้แสดงเป้นตัวยักษ์ประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่องแต่งกายดังนี้</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"font-family: Arial; font-size: 15px\" align=\"center\">\n<img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/giant_dress.bmp\" width=\"380\" border=\"0\" height=\"350\" />\n</p>\n<p style=\"font-family: Arial; font-size: 15px\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"><br />\n</span>\n</p>\n<p style=\"font-family: Arial; font-size: 15px\" align=\"center\">\n<img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/monkey_dress.gif\" width=\"380\" border=\"0\" height=\"350\" />\n</p>\n<p style=\"font-family: Arial; font-size: 15px\" align=\"center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">4.    <span lang=\"TH\">เครื่องแต่งตัวลิง(หนุมาน) คือเเครื่องแต่งกายของผู้แสดงเป้นตัวลิงประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่องแต่งกายดังนี้</span></span></b></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-weight: bold; font-size: medium; font-family: Arial\"></span></p>\n<p align=\"CENTER\">\n<img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/bottom.gif\" width=\"556\" border=\"0\" height=\"26\" />\n</p>\n<p align=\"CENTER\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<blockquote><p>\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 15px; font-family: Arial\"></span></span>\n</p></blockquote>\n<blockquote><p>\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 15px; font-family: Arial\"></span></span> </p>\n<p align=\"CENTER\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"></span>\n </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; line-height: normal\" align=\"center\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\" lang=\"TH\">นาฏศิลป์กับบทบาททางสังคม</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b></span>\n </p>\n<p> <span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: x-small; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"> </span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: red\">   <span lang=\"TH\">นาฏศิลป์เป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่สร้างสรรค์สุนทรียะด้านจิตใจและอารามณ์ให้กับคนในสังคมและมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่สามารถสะท้อนถาพวิถีชีวิตและกิจกรรมของคนในสังคม ทั้งที่เป็นกิจกรรมส่วนตัวและกิจกรรมส่วนรวม ดังพิจารณาได้จากบทบาทของนาฏศิลป์ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ทางด้านต่าง ๆ เช่น บทบาทในพิธีกรรมรัฐพิธีและราชพิธี การแสดงนาฏศิลป์ในพิธีกรรมต่าง ๆ สามารถแสดงถึงความเชื่อในพลังเหนือธรรมชาติของภูตผีปีศาจและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย เช่น การฟ้อนรำในพิธีรำผีฟ้า เพื่อรักษาโรค หรือสะเดาะเคราะห์</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif\"><o:p> </o:p></span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma; color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\">        </span></b></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: medium; font-family: Tahoma; color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\" lang=\"TH\">ดนตรีพื้นบ้านเป็นเสียงดนตรีที่ถ่ายทอดกันมาด้วยวาจาซึ่งเรียนรู้ผ่านการฟังมากกว่าการอ่านและ เป็นสิ่งที่พูดต่อกันมาแบบปากต่อปากโดยไม่มีการจดบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรจึงเป็นลักษณะกาสืบทอด ทางวัฒนธรรมของชาวบ้านตั้งแต่อดีตเรื่อยมาจนถึงปัจจุบันซึ่งเป็นกิจกรรมการดนตรีเพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด จากการทำงานและช่วยสร้างสรรค์ความรื่นเริงบันทิงเป็นหมู่คณะและชาวบ้านในท้องถิ่นนั้นซึ่งจะทำให้เกิด ความรักสามัคคีกันในท้องถิ่นและปฏิบัติสืบทอดต่อมายังรุ่นลูกรุ่นหลาน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ทางพื้นบ้านของท้องถิ่นนั้น ๆ สืบต่อไป</span></b></span>\n </p>\n<p> </p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"> <o:p></o:p></span></b>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #0099ff\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 29px\"><b><img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/dress1.gif\" /></b></span></span><img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/dress2.gif\" /><img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/dress3.gif\" /><img src=\"http://www.dsc.ac.th/inweb/student_job/art411/dress4.gif\" />\n </p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n &nbsp;\n </p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n &nbsp;\n </p>\n<table class=\"MsoNormalTable\" style=\"width: 100%\" width=\"100%\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"10\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; text-align: center; line-height: normal\" align=\"center\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\" lang=\"TH\">ตามรอยนาฏศิลป์ไทย</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">     <span lang=\"TH\">นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่หมายถึงการฟ้อนรำและละครที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติไทยซึ่งมีความอ่อนช้อยงดงาม ของท่วงท่าการร่ายรำตามจังหวะ และ ทำนองเพลงตลอดจนท่าทางอากัปกิริยาต่าง ๆ ที่แสดงอารมณ์และความรู้สึกของตัวละครไทย ซึ่งสื่อความหมายด้วยบทเจรจา ท่าทาง และ คำร้องเป็นลำนำ ทำให้ผู้ชมสนุกสนาน เพลิดเพลินเกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับการแสดงนั้น ๆ (สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ</span>, 2549: 8) <span lang=\"TH\">เป็นเรื่องที่ควรแก่การเรียนรู้เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และ ภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของชาติ เช่นเดียวกับศิลปะแขนงอื่น ๆ ควรแก่การศึกษา ให้เกิดความรู้ความเข้าใจทั้งในด้านความหมาย ที่มา องค์ประกอบ ลักษณะความเป็นไทยในนาฏศิลป์ และ ประเภทของนาฏศิลป์ไทย ดังนี้</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">1. <span lang=\"TH\">ความหมายของนาฏศิลป์ไทย</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">     <span lang=\"TH\">พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช </span>2525 <span lang=\"TH\">ได้ให้</span><br />\n <span lang=\"TH\">ความหมายของคำว่า นาฏศิลป์ ไว้ว่า &quot;เป็นศิลปะแห่งละครหรือการ</span><br />\n <span lang=\"TH\">ฟ้อนรำ&quot; นอกจากนี้ยังมีนักศึกษา ท่านผู้รู้ได้ให้ความหมายของนาฏศิลป์แตกต่างกันออกไป เป็นต้นว่า</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">     <span lang=\"TH\">ประทิน พวงสำลี (</span>2514: 1) <span lang=\"TH\">กล่าวไว้ว่า นาฏศิลป์ หมายถึง การร้องรำทำเพลง การให้ความบันเทิงใจอันรวมด้วยความโน้มเอียงของอารมณ์และความรู้สึกส่วนสำคัญส่วนใหญ่ของนาฏศิลป์อยู่ที่การละครเป็นเอก หากแต่ศิลปะประเภทนี้จำต้องอาศัยดนตรี และขับร้องเข้าร่วมด้วยเพื่อเป็นการ</span><br />\n <span lang=\"TH\">ส่งเสริมให้เกิดคุณค่าในศิลปะยิ่งขึ้นตามสภาพ หรือตามอารมณ์ต่างๆ กัน สุดแต่จะมุ่งหมาย นอกจากนี้ยังต้องถือเอาความหมาย การร้องการบรรเลงเข้าร่วมด้วย</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">     <span lang=\"TH\">พาณี สีสวย (</span>2523: 6-7) <span lang=\"TH\">ได้กล่าวถึงคำว่า นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะในการฟ้อนรำ หรือความรู้ แบบแผนของการฟ้อนรำ เป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม มีแบบแผนให้ความบันเทิงอัน</span><br />\n <span lang=\"TH\">โน้มน้าวอารมณ์ และความรู้สึกของผู้ชมให้คล้อยตามศิลปะประเภทนี้</span> <br />\n <span lang=\"TH\">ต้องอาศัย การบรรเลงดนตรีและการขับร้องเข้าร่วมด้วย</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">     <span lang=\"TH\">รานี ชัยสงคราม (</span>2544: 39) <span lang=\"TH\">กล่าวไว้ว่า นาฏศิลป์ หมายถึง การร้องรำทำเพลง การให้ความบันเทิงใจด้วยความโน้มเอียงของอารมณ์และความรู้สึก ส่วนสำคัญส่วนใหญ่ของนาฏศิลป์อยู่ที่การละครเป็นเอก หากแต่นาฏศิลป์นั้นจะต้องอาศัยดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วย</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">     <span lang=\"TH\">เรณู โกศินานนท์ (</span>2544: 51) <span lang=\"TH\">ได้กล่าวถึง คำว่า นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลป์แห่งการฟ้อนรำอันเป็นพื้นฐานที่แสดงถึงอารยธรรมความรุ่งเรือง</span><br />\n <span lang=\"TH\">ของชาติที่รุ่งเรือง หรืออารยธรรมที่เก่าแก่ย่อมมีวัฒนธรรมทาง</span><br />\n <span lang=\"TH\">ด้านดนตรีนาฏศิลป์ของตนเอง</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">     <span lang=\"TH\">โกวิท ประวาลพฤกษ์ ได้ให้ความหมายว่า นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะแห่งการละคร ฟ้อนรำ และดนตรี อันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ กำหนดว่า ต้องประกอบไปด้วยศิลปะ </span>3 <span lang=\"TH\">ประการ คือ การฟ้อนรำ การดนตรี และการขับร้อง รวมเข้าด้วยกัน ซึ่งทั้ง </span>3 <span lang=\"TH\">สิ่งนี้เป็นกิจกรรมของคนมาแต่ดึกดำบรรพ์ นาฏศิลป์ไทยมีที่มาและเกิดขึ้นจากสาเหตุตามแนวคิดต่างๆ เช่น เกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือนทางอารมณ์ ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งความสุข หรือความทุกข์ แล้วสะท้อนออกมาเป็นท่าทางแบบธรรมชาติและประดิษฐ์ขึ้นเป็นท่าทางลีลาการฟ้อนรำ หรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทพเจ้า โดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการเต้นรำ ขับร้อง ฟ้อนรำให้เกิดความพึงพอใจ และยังกล่าวได้ว่า นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะที่ได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น วัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวรรณกรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้า และตำนานการฟ้อนรำโดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม คือผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราช ที่สร้างเป็นท่าการร่ายรำของพระอิศวร ซึ่งมีทั้งหมด </span>108 <span lang=\"TH\">ท่า หรือ </span>108 <span lang=\"TH\">กรณะ โดยทรงฟ้อนรำครั้งแรกในโลก ณ ตำบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้ ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดู นับเป็นคัมภีร์สำหรับการฟ้อนรำ แต่งโดยพระภรตมุนี เรียกว่าคัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ ถือเป็นอิทธิพลสำคัญต่อแบบแผนการสืบสานและถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้น เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบ แบบแผนการเรียน การฝึกหัด จารีต ขนบธรรมเนียม มาจนถึงปัจจุบัน (โกวิท ประวาลพฤกษ์</span>, 2547: 6)<o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 26pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\"><o:p> </o:p></span></b>\n </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/11.gif\" />\n </div>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #161a05\"><b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #0070c0\" lang=\"TH\">ภาพที่ </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #0070c0\">1 <span lang=\"TH\">เทวรูปปางนาฏราช</span></span></b></span>\n </div>\n<div style=\"text-align: center\">\n </div>\n<table class=\"MsoNormalTable\" style=\"width: 100%\" width=\"100%\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"10\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff3300\"> <span lang=\"TH\">บรรดาผู้เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทยอีกหลายท่านได้สันนิษฐานว่า อารยธรรมทางศิลปะด้านนาฏศิลป์ของอินเดียนี้ ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตามประวัติการสร้าง เทวาลัยศิวะนาฏราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. </span>1800 <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นระยะที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัย ดังนั้นท่ารำไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรก จึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยาและมีการแก้ไขปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จนนำมาสู่การประดิษฐ์ท่าทางร่ายรำและละครไทยในปัจจุบัน (โกวิท ประวาลพฤกษ์</span>, 2547: 8)<o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff3300\">     <span lang=\"TH\">จากความหมายและนิยามดังกล่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า นาฏศิลป์เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องในด้านศิลปะการละคร การฟ้อนรำการเคลื่อนไหว อิริยาบถต่าง ๆ ทั้งมือ แขน ขา ลำตัว และ ใบหน้า เพื่อถ่ายทอดความหมายและอารมณ์ให้ผู้ชมเกิดความพึงพอใจ รู้สึกสะเทือนอารมณ์ สนุกสนานเพลิดเพลิน<o:p></o:p></span></span></b>\n </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</blockquote>\n<blockquote><div style=\"text-align: center\">\n </div>\n<table class=\"MsoNormalTable\" style=\"width: 100%\" width=\"100%\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"10\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #00cc00\">2. <span lang=\"TH\">ที่มาของนาฏศิลป์ไทย</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #00cc00\">     <span lang=\"TH\">สันนิษฐานว่านาฏศิลป์ไทยกำเนิดมาพร้อม ๆ กับความเป็นชนชาติไทย ที่เป็นเช่นนี้เพราะนาฏศิลป์ไทยเป็นส่วนหนึ่งที่บ่งบอกวิถีชีวิตความเป็นอยู่ การแต่งกาย และคติความเชื่อของคนไทยในอดีตถึงปัจจุบัน ทั้งนี้อาจสรุปได้ว่า นาฏศิลป์ไทยน่าจะมีที่มาจาก </span>4 <span lang=\"TH\">แหล่ง ดังนี้<o:p></o:p></span></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</blockquote>\n<blockquote><p>\n <img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/m11.gif\" />\n</p></blockquote>\n<blockquote></blockquote>\n<table class=\"MsoNormalTable\" style=\"width: 100%\" width=\"100%\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"10\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; line-height: normal\" align=\"center\">\n <b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\" lang=\"TH\">แผนผังที่ </span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">2 <span lang=\"TH\">ที่มาของนาฏศิลป์ไทย</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal\">\n <b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">     2.1 <span lang=\"TH\">จากการละเล่นของชาวบ้านในท้องถิ่น</span> <span lang=\"TH\">หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจในแต่ละวัน ชาวบ้านมักหาเวลาว่างมาร่วมร้องรำทำเพลง โดยมีการนำเอาดนตรีมาประกอบด้วย และ ตามนิสัยของคนไทยที่เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน ชอบร้องรำทำเพลงโต้ตอบระว่างชายหญิงจนเกิดเป็นพ่อเพลง แม่เพลงขึ้น โดยมีลูกคู่คอยร้องรับกันเป็นที่สนุกสนานครื้นเครง ทั้งนี้อาจจะเป็นกุศโลบายอย่างหนึ่งที่มีส่วนช่วยให้ลืมความเหน็ดเหนื่อยจากการทำงานในแต่ละวัน นอกจากนี้ยังมีการร้องรำกันเป็นคู่ชายหญิงเดินเป็นวง หรือเป็นที่รู้จักกันว่ารำโทนหรือรำวงพื้นบ้านจากการละเล่นของชาวบ้านดังกล่าวเป็นสาเหตุให้เกิดการแสดงนาฏศิลป์ไทยประการหนึ่ง</span><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/12.gif\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #9900cc\" lang=\"TH\">ภาพที่</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #9900cc\">2<span lang=\"TH\">รำวงของคนไทยในสมัยโบราณ</span></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\">2.2<span lang=\"TH\">จากการแสดงเป็นแบบแผน</span></span></b><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\"> </span></span><span class=\"apple-style-span\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\" lang=\"TH\">นาฏศิลป์ไทยที่เป็นมาตรฐานเป็นนาฏศิลป์ที่มีการปลูกฝังและถ่ายทอดมาจากปรมาจารย์ทางนาฏศิลป์ไทยในวังหลวงที่ฝึกให้แก่ผู้หญิงและผู้ชายที่อยู่ในวังเป็นผู้แสดงโขนและละครเพื่อแสดงในโอกาสต่าง</span></span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\" lang=\"TH\">ๆ</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\" lang=\"TH\"></span></span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #ff0066\"> </span></span> <img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/13.gif\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #00cc00\" lang=\"TH\">ภาพที่</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #00cc00\">3<span lang=\"TH\">การแสดงละครในในสมัยโบราณ</span></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; font-family: tahoma; color: #3c0d00\" class=\"Apple-style-span\"></span></p>\n<table width=\"100%\" border=\"0\" cellspacing=\"10\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">  </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #cd32ba\"><b>2.3 จากการรับอารยธรรมของอินเดีย ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่มีอารยธรรมเก่าแก่และเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่โบราณกาล โดยเฉพาะละครในอินเดียรุ่งเรืองมาก ประกอบกับชนชาติอินเดียที่นับถือและเชื่อมั่นในศาสนา พระผู้เป็นเจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธ์ต่าง ๆ พระผู้เป็นเจ้าที่ชาวอินเดียนับถือ ได้แก่ พระศิวะ(พระอิศวร) พระวิษณุ และพระพรหม ในบางยุคของชาวอินเดียถือว่า พระอิศวรเป็นเทพเจ้าที่มีผู้เคารพนับถือมากยุคนี้ถือว่าพระอิศวรทรงเป็นนาฏราช(ราชาแห่งการร่ายรำ) มีประวัติทั้งในสวรรค์และในเมืองมนุษย์ ในการร่ายรำของพระอิศวรแต่ละครั้ง พระองค์ทรงให้พระภรตฤาษีเป็นผู้บันทึกท่ารำแล้วนำมาสั่งสอนแก่เหล่ามนุษย์ จนเป็นที่มาของตำนานการฟ้อนรำ และในการเรียนนาฏศิลป์ไทยผู้เรียนทุกคนจะต้องเข้าพิธีไหว้ครูโขน - ละครก่อน ซึ่งได้แก่ พระอิศวร พระนารายณ์ พระพรหม พระพิราพ และพระภรตฤาษี อันเป็นครูทางนาฏศิลป์และเป็นเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์ และ ศาสนาฮินดู  </b></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #cd32ba\"><b>      2.4 จากการเลียนแบบธรรมชาติ กิริยาท่าทางตามธรรมชาติของมนุษย์จะบ่งบอกความหมายและสื่อความหมายกับผู้อื่นได้ควบคู่กับการพูด ในการฟ้อนรำก็จะใช้ท่ารำสื่อความหมายกับผู้ชมเช่นเดียวกัน จะเห็นได้ว่า การแสดงบางชุดไม่มีเนื้อเพลง แต่มีทำนองเพลงอย่างเดียวผู้แสดงก็จะฟ้อนรำไปตามทำนองเพลงนั้น ๆ ลีลาท่ารำเป็นท่าทางธรรมชาติที่ใช้สื่อความหมาย ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการให้ผู้ชมเข้าใจความหมายในการรำ และใช้ท่ารำในการดำเนินเรื่องด้วย ถึงแม้ว่าท่ารำส่วนใหญ่จะมีลีลาสวยงามวิจิตรกว่าท่าทางธรรมชาติไปบ้าง แต่ก็็ยังคงใช้ท่าทางธรรมชาติเป็นพื้นฐานในการประดิษฐ์ท่ารำและเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสมบ่งบอกความหมายได้ถูกต้อง </b></span>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de12.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/14.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"188\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 4 การเลียนแบบธรรมชาติของมนุษย์มาปรับปรุง<br />\n ให้เป็นท่านาฏศิลป์ให้ดูสวยงาม ในการแสดงชุด กราวเงาะ</b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b></b><a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de12.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/15.gif\" width=\"162\" border=\"1\" height=\"250\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 5 การเลียนแบบท่าทางตามธรรมชาติของกวาง</b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p> <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\"> </span></p>\n<table width=\"100%\" border=\"0\" cellspacing=\"10\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p>\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ed1135\"><b>3. องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย </b></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\" align=\"center\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ed1135\"><b>      นาฏศิลป์ไทย ประกอบด้วย ศิลปะหลาย ๆ แขนง ทั้ง ศิลปะการ<br />\n ร้องเพลง การบรรเลงดนตรี และ การฟ้อนรำ ที่ต้องอาศัยบทร้องนำทำนองเพลงประกอบการแสดง นาฏศิลป์ไทยได้ นาฏศิลป์ไทยมี<br />\n ีองค์ประกอบสำคัญ ๆ ต่อไปนี้ </b></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ed1135\"><b>      3.1 การฟ้อนรำ การฟ้อนรำ หรือ ลีลาท่าทาง เป็นท่าทางของการเยื้องกรายฟ้อนรำที่สวยงามโดยมีมนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำเหล่านั้นให้<br />\n ถูกต้องตามแบบแผน รวมทั้งบทบาทและลักษณะของตัวละคร ประเภทของการแสดง และการสื่อความหมายที่ชัดเจน </b></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ed1135\"><b>      3.2 จังหวะ จังหวะเป็นส่วนย่อยของบทเพลงที่ดำเนินไปเป็นระยะและสม่ำเสมอ การฝึกหัดนาฏศิลป์ไทยจำเป็นต้องใช้จังหวะเป็นพื้นฐานในการฝึกหัด เพราะจังหวัดเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติและมีอยู่ในตัวมนุษย์ทุกคน หากผู้เรียนมีทักษะทางการฟังจังหวะแล้ว ก็จะสามารถรำได้สวยงาม แต่ถ้าผู้เรียนไม่เข้าใจจังหวะก็จะทำให้รำไม่ถูกจังหวะหรือเรียกว่าบอดจังหวะ ทำให้รำไม่สวยงามและไม่ถูกต้อง </b></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ed1135\"><b>      3.3 เนื้อร้องและทำนองเพลง การแสดงลีลาท่ารำแต่ละครั้งจะต้องสอดคล้องตามเนื้อร้อง และทำนองเพลง ทั้งนี้เพื่อบอกความหมายของ<br />\n ท่ารำ ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในการแสดงได้ตามเนื้อเรื่อง ตลอดสามารถสื่อความหมายให้กับผู้ชมเข้าใจตรงกันได้  </b></span>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"left\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">  </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #15e92e\"><b>4. ลักษณะของความเป็นไทยในนาฏศิลป</b>์ ได้แก่ </span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #15e92e\">      <b>4.1 ท่ารำอันอ่อนช้อยงดงาม และแสดงอารมณ์ตามลักษณะที่แท้จริงของคนไทย</b>มีความหมายอย่างกว้างขวาง </span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #15e92e\">      <b>4.2 มีดนตรีประกอบ</b> ดนตรีประกอบจะแทรกอารมณ์ หรือรำกับเพลงที่มีแต่ทำนองก็ได้ หรือมีเนื้อร้องและให้ท่ารำไปตามเนื้อร้องนั้น ๆ </span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #15e92e\">      <b>4.3 คำร้องหรือเนื้อร้องเป็นคำประพันธ</b>์ ส่วนบทจะเป็นกลอนแปด ซึ่งจะนำไปร้องกับเพลงชั้นเดียว หรือเพลง 2 ชั้นได้ทุกเพลง ทำให้กำหนดท่ารำไปตามเนื้อร้องได้ </span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #15e92e\">      <b>4.4 เครื่องแต่งกาย</b> ละครไทยแตกต่างกับเครื่องแต่งกายละครของชาติอื่น มีแบบอย่างของตนโดยเฉพาะ ขนาดยืดหยุ่นได้ตามสมควร เครื่องแต่งกายบางประเภท เช่น เครื่องแต่งกายยืนเครื่อง ซึ่งต้องใช้วิธีตรึงด้วยด้าย แทนการเย็บสำเร็จรูป </span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #15e92e\">   </span>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"left\">\n &nbsp;\n </p>\n<p> <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\"> </span></p>\n<table width=\"100%\" border=\"0\" cellspacing=\"10\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p>\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff6600\"><b>5. คุณค่าของนาฏศิลป์ไทย </b></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\" align=\"center\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff6600\"><b>      5.1 เพื่อการสื่อสาร นาฏศิลป์ได้พัฒนาจากรูปลักษณ์ที่ง่าย และเป็นส่วนประกอบของคำพูดหรือวรรณศิลป์ ไปสู่การสร้างภาษาของตนเองขึ้นที่เรียกว่า &quot;ภาษาท่า&quot; โดยกำหนดกันในกลุ่มชนที่ใช้นาฏศิลป์นั้นๆ ว่าท่าใดมีความหมายอย่างไร </b></span>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de15.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/16.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"189\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\">\n <b>ภาพที่ 6 ภาพแสดงท่าทางโศกเศร้าเสียใจ</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">     </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #1ecde0\">5.2 เพื่องานพิธีกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การฟ้อนรำเพื่อบูชาหรือบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การรำแก้บน การฟ้อนรำอีกลักษณะหนึ่งเป็นการฟ้อนรำบูชาครู ไม่ได้แก้บนใด ๆ แต่เป็นการฟ้อนบูชาครู หรือเป็นพุทธบูชา เช่น การรำถวายมือในพิธีไหว้ครูนาฏศิลป์ไทย </span></b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de15.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/17.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"167\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 7 การรำในพิธีไหว้ครูนาฏศิลป์ไทย</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">     </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">5.3 เพื่องานพิธีการต่าง ๆ ได้แก่ พิธีการต้อนรับแขกเมืองสำคัญ พิธีแห่เทวรูปที่เคารพประจำปี เพื่อเป็นสิริมงคล พิธีฉลองงานสำคัญ เช่น งานวันเกิด งานวันครบรอบ </span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">      5.4 เพื่อความบันเทิงและการสังสรรค์ นาฏศิลป์ให้ความบันเทิง<br />\n แก่ผู้มาร่วมงานต่าง ๆ เช่น การรำอวยพรในวันเกิด ในงานรื่นเริงต่าง ๆ </span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<div align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">     5.5 เพื่อการออกกำลังกายและพัฒนาบุคลิกภาพ การฝึกหัดรำไทยต้องอาศัยกำลังในการฝึกซ้อมและ ในการแสดงอย่างมากเหมือนกับได้ออกกำลังกายอยู่ตลอดเวลา เป็นการกระตุ้นหรือบำบัดส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ทำให้กระฉับกระเฉง ไม่เครียด เป็นการสร้างเสริมบุคลิกภาพและมีการทรงตัวที่สง่างามด้วย </span></b>\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<div align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">     5.6 เพื่อการอนุรักษ์และเผยแพร่ นาฏศิลป์เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของชุมชน ในชุมชนหนึ่ง ๆ มักมีการสืบทอด และอนุรักษ์วัฒนธรรมทาง<br />\n นาฎศิลป์ของตนเอาไว้มิให้สูญหาย มีการสอนมีการแสดง และเผยแพร่นาฏศิลป์ไทยให้ท้องถิ่นอื่น หรือนำไปเผยแพร่ในต่างแดน </span></b>\n </div>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de15.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/18.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"188\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 8 การรำในพิธีการ เพื่อความบันเทิง ออกกำลังกาย และ การอนุรักษ์เผยแพร่</b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de15.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/19.gif\" width=\"190\" border=\"1\" height=\"250\" /></a></p>\n<p> <b>ภาพที่ 9 การแต่งกายในการแสดงระบำมาตรฐาน</b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p> <span style=\"color: #3c0d00\" class=\"Apple-style-span\"> </span></p>\n<table width=\"100%\" border=\"0\" cellspacing=\"10\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p>\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ffcc00\">6. ประเภทของนาฏศิลป์ไทย </span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p>\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ffcc00\">      นาฏศิลป์ไทยแบ่งออกได้หลายประเภทดังนี้ </span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ffcc00\">      6.1 ระบำ คือ ศิลปะของการร่ายรำที่แสดงพร้อมกันเป็นหมู่เป็นชุด ความงามของการแสดงระบำ อยู่ที่ความสอดประสานกลมกลืนกัน ด้วยความพร้อมเพรียงกัน การแสดงมีทั้งเนื้อร้องและไม่มีเนื้อร้อง ระบำ<br />\n แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ </span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ffcc00\">           6.1.1 ระบำดั้งเดิม หรือ ระบำมาตรฐาน หมายถึง การแสดงที่ปรมาจารย์ได้กำหนดเนื้อร้อง ทำนองเพลง ลีลาท่ารำ และ การแต่งกาย ตลอดจนกระบวนการแสดงไว้อย่างแน่นอนตายตัว ที่ได้สั่งสอนฝึกหัด <br />\n ถ่ายทอดต่อ ๆ กันมาเป็นเวลานาน จนนับถือเป็นแบบฉบับ จัดเป็นระบำมาตรฐาน จะเปลี่ยนแปลงลีลาท่ารำไม่ได้ เช่น ระบำดาวดึงส์ ระบำกฤดาภินิหาร ระบำเทพบันเทิง </span></b>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/110.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"177\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 10 การแสดงชุด ระบำดาวดึงส์</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">           </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #b44bac\"><b>6.1.2 ระบำปรับปรุงหรือสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ตามเหตุการณ์ หมายถึง การแสดงที่ปรับปรุงระบำมาตรฐาน ปรับปรุงจาการแสดงพื้นบ้าน ปรับปรุงจากการเลียนแบบกิริยาท่าทางของสัตว์ ปรับปรุงจากเหตุการณ์ ปรับปรุงเพื่อใช้สำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่<br />\n 1) ปรับปรุงแบบมาตรฐาน หมายถึง ระบำที่คิดประดิษฐ์ขึ้นโดยยึดแบบและลีลา ตลอดจนความสวยงามของระบำไว้ อาจมีการ<br />\n เปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่างเพื่อให้ดูงามขึ้นอีก หรือ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเหมาะสมกับสถานที่ที่นำไปแสดง เช่น การจัดรูปแถว การนำเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงเข้าไปสอดแทรก เป็นต้น<br />\n 2) ปรับปรุงจากพื้นบ้าน หมายถึง ระบำที่คิดประดิษฐ์<br />\n ์สร้างสรรค์ขึ้นจากแนวทางความเป็นอยู่ของคนพื้นบ้าน การทำมาหากิน อุตสาหกรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ในแต่ละท้องถิ่นมาแสดงออกเป็นรูปของระบำที่เป็นเอกลักษณ์ประจำท้องถิ่น เช่น เซิ้งบั้งไฟ เต้นกำรำเคียว ระบำงอบ ระบำกะลา รองเง็ง เป็นต้น<br />\n 3) ปรับปรุงจากท่าทางของสัตว์ หมายถึง ระบำที่คิดประดิษฐ์ขึ้นใหม่ตามลักษณะลีลา ท่าทางของสัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่น ระบำ<br />\n นกยูง ระบำนกเขา ระบำมฤครำเริง ระบำบันเทิงกาสร ระบำตั๊กแตน ระบำตีไก่ เป็นต้น</b></span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #b44bac\"><b> </b></span>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"left\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/111.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"185\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 11 การแสดงชุดระบำตีไก่</b>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\"><b></b></span><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">               </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ffff00\">4) ปรับปรุงจากตามเหตุการณ์ หมายถึง ระบำที่คิดประดิษฐ์ขึ้นเพื่อแสดงในวันสำคัญ หรือ วันนักขัตฤกษ์ หรือ เพื่อการต้อนรับ และ แสดงความยินดี เป็นต้น</span></b>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ffff00\">               5) ปรับปรุงเพื่อใช้สำหรับเด็กปฐมวัย เป็นระบำประดิษฐ์และสร้างสรรค์ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางสื่อนำสู่บทเรียน เหมาะสำหรับเด็ก ๆ เป็นระบำง่าย ๆ เพื่อเร้าความสนใจ ประกอบบทเรียนต่าง ๆ เช่น ระบำสูตรคูณ ระบำวรรณยุกต์ ระบำประเภทปรับปรุงขึ้นใหม่นี้ ลักษณะท่ารำจะไม่ตายตัว จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ ตัวบุคคล ตลอดจนฝีมือและความสามารถของผู้สอนและตัวนักเรียนเอง </span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">      </span><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #00ff00\">6.2 รำ หมายถึง การแสดงที่มุ่งความงามของการร่ายรำ เป็นการแสดงท่าทางลีลาของผู้รำโดยใช้มือแขนเป็นหลัก สามารถจำแนกอกเป็น 2 ประเภท คือ การรำเดี่ยว การรำคู่ การรำหมู่ </span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #00ff00\">           6.2.1 การรำเดี่ยว คือ การรำที่ใช้ผู้แสดงเพียงคนเดียว <br />\n จุดมุ่งหมายเพื่ออวดฝีมือในการรำ ต้องการแสดงศิลปะร่ายรำ หรือ แสดงสลับฉากรอการจัดฉาก เช่น การรำฉุยฉายต่าง ๆ รำมโนราห์บูชายัญ รำ<br />\n พลายชุมพล เป็นต้น </span></b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/112.gif\" width=\"192\" border=\"1\" height=\"250\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 12 การรำฉุยฉายพราหมณ์</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">           </span><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff00ff\">6.2.2 การรำคู่ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <br />\n 1) รำคู่ในลักษณะศิลปะการต่อสู้ เป็นการแสดงประกอบดนตรี ไม่มีบทร้อง ได้แก่ รำกระบี่กระบอง รำดาบสองมือ รำทวน รำกริช เป็นต้น <br />\n 2) การรำคู่ในชุดสวยงาม เป็นการรำที่มีบทร้องประกอบดนตรีที่นักแสดงต้องแสดงท่าทางตามความหมายในตอนนั้น ๆ เช่น การรำหนุมานจับสุพรรณมัจฉา หนุมานจับนางเบญกาย พระรามตามกวาง <br />\n พระลอตามไก่ รามสูรเมขลา เป็นต้น </span></b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/113.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"196\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 13 การรำคู่ ชุดพระรามตามกวาง</b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/114.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"184\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <span style=\"font-weight: bold; font-family: tahoma; color: #240600\" class=\"style9\">ภาพที่ 14 การรำหมู่ ชุด นางกอย <br />\n </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">        </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #00ff00\">  6.2.3 การรำหม</span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #00ff00\"><b>ู่ เป็น การแสดงมากกว่า 2 คนขึ้นไป ได้แก่ รำโคม ญวนรำกระถาง รำพัด รำวงมาตรฐาน เต้นกำรำเคียว รำกลองยาว เป็นต้น </b></span>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/115.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"188\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 15 รำวงมาตรฐาน</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p align=\"left\">\n <b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #3c0d00\">     </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff9900\">6.3 ฟ้อน หมายถึง ศิลปะการร่ายรำแบบพื้นเมืองของภาคเหนือ ลีลาการร่ายรำค่อนข้างช้า การแต่งกายแบบพื้นเมืองของชาวเหนือ เช่น <br />\n ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนเทียน เป็นต้น การฟ้อนจะนิยมเป็นหมู่ ส่วนการร่ายรำอาวุธ เป็นการใช้ศิลปะการต่อสู้ของชาวเหนือก็เรียกว่าฟ้อน เช่น ฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง เป็นต้น </span></b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/116.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"185\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 16 ฟ้อนม่านมงคล</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.4 เซิ้ง</b> หมายถึง ศิลปะการแสดงของภาคอีสาน ลีลาจังหวะการ<br />\n ร่ายรำเร็ว การแต่งกายแบบพื้นเมืองอีสานและเพลงที่ใช้ประกอบเป็นเพลงสนุกสนาน ส่วนใหญ่ใช้ในขบวนแห่ต่าง ๆ\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/117.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"184\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 17 เซิ้งแหย่ไข่มดแดง</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.5 ละคร</b> หมายถึง ศิลปะการแสดงที่ผูกเป็นเรื่องเป็นราว มีเหตุการณ์เชื่อมโยงเป็นตอน ๆ ตามลำดับประกอบไปด้วย บทร้อง ท่าทาง การร่ายรำ บทเจรจา และ นาฏศิลป์ด้านอื่น ๆ ดังนี้ \n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>          6.5.1 ละครชาตรี</b> เป็นละครที่ถือว่าเป็นละครที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นต้นแบบละครรำทุกชนิด เรื่องที่นิยมนำไปแสดง คือ เรื่องพระสุธน<br />\n มโนราห์ พระอภัยมณี และ พระรถเสน แต่เดิมมีผู้แสดง เพียง 3 คน เท่านั้น ละครชาตรีใช้วงปี่พาทย์ประกอบการแสดง \n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>          6.5.2 ละครนอก</b> กระบวนการรำรวดเร็วและไม่พิถีพิถัน แต่งกายเลียนแบบเครื่องต้นของกษัตริย์ มุ่งแสดงเรื่องให้ตลกขบขัน ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบ แต่เดิมผู้แสดงเป็นชายล้วน ปัจจุบันมีทั้งชายและหญิง\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/118.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"188\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 18 การแสดงละครชาตรี</b>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/119.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"221\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 19 ผู้แสดงละครนอกเรื่องสังข์ทองสมัยรัชกาลที่ 6</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.5.3 ละครใน </b>เป็นละครที่เกิดขึ้นในพระราชฐาน ที่มีศิลปะของการรำอันสวยงาม รักษาขนบประเพณีเคร่งครัด มีความสุภาพทั้งบทร้องและเจรจา เพลง จึงต้องดำเนินจังหวะการร้อง และดนตรีค่อนข้างช้า รำอ่อนช้อยสวยงาม ใช้วงปี่พาทย์ เครื่องห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่บรรเลงประกอบ แต่งกายแบบเดียวกับละครนอก แต่ถ้าแสดงเรื่องอิเหนา ตัวพระบางตัวจะสวมศีรษะด้วยปันจุเหร็จในบางตอน ผู้แสดงเป็นหญิงล้วน ตัวประกอบอาจเป็นผู้ชายบ้าง เรื่องที่ใช้แสดงละครใน แต่โบราณมีเพียง 3 เรื่อง คือ เรื่องรามเกียรติ์ อิเหนา และอุณรุท\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/120.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"166\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 20 ละครในเรื่อง อิเหนา ตอนบุษบาเสี่ยงเทียน</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>          6.5.4 ละครดึกดำบรรพ</b>์ เป็นละครที่เรียกชื่อตามชื่อโรงละคร ที่ชื่อว่า โรงละครดึกดำบรรพ์ ได้แบบอย่างมาจากละครโอเปร่าของตะวันตก ซึ่ง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เป็นผู้ทรงปรับปรุงขึ้น ใช้ท่ารำตามแบบแผน ผู้แสดงเป็นผู้ร้องในบทของตนเอง ใช้วงปี่พาทย์ที่ปรับปรุงใหม่คือวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ มีเสียงทุ้มนุ่มนวล\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.5.5 ละครพันทาง</b> เป็นละครแบบผสม คือ การนำเอาท่ารำของชาติอื่นมาแสดง มีผสมผสานกับท่ารำของไทย แต่งกายตามชาติของตัวละครที่ปรากฏในเรื่องนั้น ๆ แบ่งการแสดงออกเป็นชุดตามเนื้อร้อง\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/121.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"215\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 21 ละครพันทางเรื่อง พระลอ ตอน พระลอตามไก่</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.5.6 ละครร้อง</b> เป็นละครที่ใช้การขับร้องเป็นหลักในการดำเนินเรื่อง เกิดขึ้นในสมัยพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก แต่งกายตามท้องเรื่องหรือแต่งกายตามยุคสมัย ผู้แสดงเป็นหญิงล้วนมีผู้ชายเป็นตัวตลกแสดงประกอบ บางครั้งจะใช้ชายจริงหญิงแท้ นิยมแสดงเรื่อง กากี ตุ๊กตายอดรัก สาวเครือฟ้า เป็นต้น ในการแสดงผู้แสดงไม่ต้องรำแต่ใช้ท่าทางกิริยาอาการของคนธรรมดาสามัญทั่วไปในลักษณะกำ ๆ แบ ๆ ไม่มีการรำประกอบ\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/122.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"160\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 22 ละครร้อง เรื่อง สาวเครือฟ้า</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.5.7 ละครพูด</b> เป็นละครที่แสดงบนเวที ที่มีการเปลี่ยนฉากและแต่งกายตามเนื้อเรื่อง ดำเนินเรื่องด้วยคำพูดของตัวละคร ที่ใช้คำพูดและท่าทางอย่างธรรมดาสามัญชน แต่อาจเน้นในอารมณ์บางอย่างให้เด่นขึ้น เพื่อให้ผู้ชมเข้าใจชัดเจน ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม บรรเลงตอนปิดฉากเท่านั้น\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.6 โขน</b><b> </b>เป็นศิลปะการแสดงนาฏศิลป์  ที่อากัปกิริยาของตัวแสดงมีทั้งการรำและการเต้นให้เข้ากับดนตรี ผู้แสดงถูกสมมติให้เป็นตัวยักษ์ เป็นลิง เป็นมนุษย์ (ตัวพระ ตัวนาง) เทวดา โดยการสวมหน้ากาก ซึ่งเรียกกันว่าหัวโขน ปัจจุบันผู้แสดงเป็นมนุษย์หรือเทวดาไม่สวมหัวโขน การแต่งกายจะแต่งตามลักษณะของตัวยักษ์ ลิง มนุษย์ มีผู้พากย์เจรจา ขับร้องแทนการร้องและเจรจาของผู้แสดงซึ่งผู้แสดงมีหน้าที่แสดงท่าทางไปตามบทพากย์และเจรจา ซึ่งเรียกว่า &quot;ตีบท&quot; นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์ โขนแบ่งเป็น 5 ชนิด คือ \n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.6.1 โขนกลางแปลง</b> เป็นการแสดงโขนกลางสนาม ใช้ธรรมชาติเป็นฉาก นิยมแสดงชุดเกี่ยวกับการยกกองทัพและการรบกัน\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/123.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"168\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 23 โขนกลางแปลง</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.6.2 โขนโรงนอก หรือ โขนนั่งราว</b> เป็นการแสดงโขนบนโรงมีหลังคา ไม่มีเตียงสำหรับตัวโขนนั่ง แต่มีราวพาดตามส่วนยาวของโรงตรงหน้าฉาก (ม่าน) ให้ตัวโขนที่สำคัญนั่งแทนตั่ง มีการพากย์และเจรจา แต่ไม่มีการร้อง ผู้แสดงทุกคนสวมหัวโขน ยกเว้นตัวนาง มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า โขนนอนโรง\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/124.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"157\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 24 โขนโรงนอกหรือโขนนั่งราว</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.6.3 โขนโรงใน </b>เป็นการแสดงโขนที่นำเอาศิลปะการขับร้องและการร่ายรำของละครในเข้าไปผสมกับการแสดงโขน ดังนั้น การแสดงโขนชนิดนี้จึงใช้ทั้งท่าทางรำของละครและท่าทางเต้นของโขน\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/125.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"171\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 25 โขนโรงใน</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small; color: #3c0d00\">\n<p align=\"left\">\n <b>6.6.4 โขนหน้าจอ</b> คือโขนที่เล่นตรงหน้าจอ ซึ่งเดิมขึงไว้สำหรับเล่นหนังใหญ่  ต่อมามีการสร้างเวทีประกอบจอหนังใหญ่ ศิลปะการแสดงโขนชนิดนี้ เป็นแบบเดียวกับแสดงโขนโรงใน\n </p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/126.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"200\" /></a>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>ภาพที่ 26 โขนหน้าจอ</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"font-family: tahoma; font-size: small\">\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"left\">\n <b>6.6.5 โขนฉาก </b>เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นการแสดงโขนเช่นเดียวกับโขนโรงใน ที่มีการสร้างฉากให้ดูสมจริงสมจังยิ่งขึ้น ดังนั้นโขนที่แสดงในลักษณะนี้คือ โขนที่แสดงในโรงละครแห่งชาติ เป็นต้น\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"><img src=\"http://www.lakornchatree.com/html/images/p/127.gif\" width=\"250\" border=\"1\" height=\"159\" /></a>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n <a href=\"http://www.lakornchatree.com/html/de16.php\" style=\"color: #e9e5d6; text-decoration: none\"></a><b>ภาพที่ 27 โขนฉาก</b>\n </p>\n<p style=\"color: #3c0d00\" align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b><span style=\"color: #800080\" class=\"Apple-style-span\">จบแล้วคร่า </span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #00cc00\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #9900cc\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n', created = 1715701648, expire = 1715788048, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f8722b18583b4fa2ff8930dc9b7e9120' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8984fb19c05d1c424c0c634e805719a3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: large; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #0099ff\" lang=\"TH\">ขอทำเรื่องใหม่งานเกี่ยวกับตัวเอง อิอิ</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #0099ff\" lang=\"TH\"></span></b> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #7030a0\" lang=\"TH\">เรื่องนาฏศิลป์ไทย</span></b><b><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #7030a0\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: large; font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #990000\" lang=\"TH\">ประวัตินาฏศิลป์ไทย</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: #990000\"><br />\n</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\"> <span lang=\"TH\">นาฏศิลป์  เป็นศิลปะแห่งการละคร  ฟ้อนรำ  และดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ  กำหนดว่าต้องประกอบไปด้วย  ศิลปะ  </span>3  <span lang=\"TH\">ประการคือ  การฟ้อนรำ  การดนตรี  และการขับร้องรวมเข้าด้วยกัน  ซึ่งทั้ง  </span>3  <span lang=\"TH\">สิ่งนี้เป็นอุปนิสัยของคนมาแต่ดึกดำบรรพ์นาฏศิลป์ไทยมีที่มาและเกิดขึ้นจากสาเหตุตามแนวคิดต่าง ๆ เช่นเกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือนทางอารมณ์  ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งความสุขหรือความทุกข์แล้วสะท้อนออกมาเป็นท่าทางแบบธรรมชาติและประดิษฐ์ขึ้นเป็นท่าทางลีลาการฟ้อนรำหรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์  เทพเจ้าโดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการเต้นรำ  ขับร้องฟ้อนรำให้เกิดความพึงพอใจ  เป็นต้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">นอกจากนี้  นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย  เช่นวัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวัฒนกรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้าและตำนานการฟ้อนรำ โดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม</span> <span lang=\"TH\">คือ ผ่านชนชาติชวาและเขมรก่อนที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย  เช่นตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราช  ที่สร้างเป็นท่าการร่ายรำของ พระอิศวรซึ่งมีทั้งหมด  </span>108  <span lang=\"TH\">ท่า  หรือ  </span>108<span lang=\"TH\">กรณะ  โดยทรงฟ้อนรำครั้งแรกในโลก  ณตำบลจิทรัมพรัม  เมืองมัทราส  อินเดียใต้ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดู  นับเป็นคัมภีร์สำหรับการฟ้อนรำแต่งโดยพระภรตมุนี  เรียกว่า  คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ถือเป็นอิทธิพลสำคัญต่อแบบแผนการสืบสานและการถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบแบบแผนการเรียน  การฝึกหัด  จารีต  ขนบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: blue\">        <span lang=\"TH\">อย่างไรก็ตามบรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐานว่าอารยธรรมทางศิลปะด้านนาฎศิลป์ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทจยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุทธยาตามประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฎราชที่สร้างขึ้นในปีพ.ศ. </span>1800  <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นระที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัยดังนั้นที่รำไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุทธยาและมีการแก้ไข  ปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนำมาสู่การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนำมาสู่การประดิษฐ์ท่าทางร่ายรำและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: \'Cordia New\',sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%\"><o:p> </o:p></span>\n</p>\n', created = 1715701648, expire = 1715788048, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8984fb19c05d1c424c0c634e805719a3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

@@ ^_^ นาฏศิลป์ไทย ^_^ @@

รูปภาพของ pnp31776

 

ขอทำเรื่องใหม่งานเกี่ยวกับตัวเอง อิอิ

 

เรื่องนาฏศิลป์ไทย

ประวัตินาฏศิลป์ไทย
 นาฏศิลป์  เป็นศิลปะแห่งการละคร  ฟ้อนรำ  และดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะ  กำหนดว่าต้องประกอบไปด้วย  ศิลปะ  3  ประการคือ  การฟ้อนรำ  การดนตรี  และการขับร้องรวมเข้าด้วยกัน  ซึ่งทั้ง  3  สิ่งนี้เป็นอุปนิสัยของคนมาแต่ดึกดำบรรพ์นาฏศิลป์ไทยมีที่มาและเกิดขึ้นจากสาเหตุตามแนวคิดต่าง ๆ เช่นเกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือนทางอารมณ์  ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งความสุขหรือความทุกข์แล้วสะท้อนออกมาเป็นท่าทางแบบธรรมชาติและประดิษฐ์ขึ้นเป็นท่าทางลีลาการฟ้อนรำหรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์  เทพเจ้าโดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการเต้นรำ  ขับร้องฟ้อนรำให้เกิดความพึงพอใจ  เป็นต้น
นอกจากนี้  นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย  เช่นวัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวัฒนกรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้าและตำนานการฟ้อนรำ โดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม คือ ผ่านชนชาติชวาและเขมรก่อนที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย  เช่นตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราช  ที่สร้างเป็นท่าการร่ายรำของ พระอิศวรซึ่งมีทั้งหมด  108  ท่า  หรือ  108กรณะ  โดยทรงฟ้อนรำครั้งแรกในโลก  ณตำบลจิทรัมพรัม  เมืองมัทราส  อินเดียใต้ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดู  นับเป็นคัมภีร์สำหรับการฟ้อนรำแต่งโดยพระภรตมุนี  เรียกว่า  คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ถือเป็นอิทธิพลสำคัญต่อแบบแผนการสืบสานและการถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบแบบแผนการเรียน  การฝึกหัด  จารีต  ขนบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน

        อย่างไรก็ตามบรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐานว่าอารยธรรมทางศิลปะด้านนาฎศิลป์ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทจยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุทธยาตามประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฎราชที่สร้างขึ้นในปีพ.ศ. 1800  ซึ่งเป็นระที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัยดังนั้นที่รำไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุทธยาและมีการแก้ไข  ปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนำมาสู่การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนำมาสู่การประดิษฐ์ท่าทางร่ายรำและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 502 คน กำลังออนไลน์