• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เนื้อหาการงานอาชีพ เทคโนโลยี ล่าสุด', 'lesson/tech/latest', '', '3.128.171.203', 0, '2525658d5070bc7517311ea4391de06d', 406, 1716124552) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c070f64eac2ce6d022cfb9dcfe174f2d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #0000ff\">                                                                                  ตู้เย็น<br />\n</span></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">ตู้เย็น แบ่งออกเป็นส่วนต่าง ๆ ดังนี้<br />\n</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">1. </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">ตัวตู้เย็น</span><span>  </span>ทำด้วยเหล็กและอัดฉีดโฟมอยู่ด้านใน มีหลายประเภท หลายขนาด แล้วแต่ความต้องการใช้งานของผู้ใช้ ตู้เย็นประเภทมีประตูเดี่ยวจะประหยัดพลังงานมากกว่าตู้เย็นประเภทหลายประตู ขนาดของตู้เย็นจะเรียกเป็นลูกบาศก์เดซิเมตร ( ลบ.ดม.) หรือ คิว เช่น ตู้เย็นขนาด </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\">113<span lang=\"TH\"> ลูกบาศก์เดซิเมตร ( </span>4<span lang=\"TH\"> คิว ) เป็นต้น<br />\n</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">2.</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">แผงเย็น</span> ( </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\">Evaporator <span lang=\"TH\">) มีลักษณะเป็นแผงอยู่ภายในตู้เย็นมีหน้าที่กระจายความเย็นให้แก่ตู้เย็น<br />\n</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">3.</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">แผงร้อน</span> ( </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\">Condenser <span lang=\"TH\">) มีหน้าที่ระบายความร้อนให้แก่น้ำยาทำความเย็นเพื่อให้น้ำยาทำความเย็นที่อยู่ในสภาพที่เป็นไอเย็นความแน่นกลับกลายเป็นของเหลวอีกครั้งหนึ่ง จะอยู่ด้านหลังหรือด้านใต้ตู้เย็น<br />\n</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">4.</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">มอเตอร์คอมเพรสเตอร์</span> ( </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\">Motor Compressor <span lang=\"TH\">) มักเรียกสั้นๆว่า คอมเพรสเตอร์ ทำหน้าที่อัดและดูดน้ำยาทำความเย็นให้หมุนเวียนภายในตู้เย็น เมื่อตู้เย็นทำงานถึงเวลาหรือความเย็นที่ตั้งไว้คอมเพรสเตอร์ นี้จะหยุดทำงานชั่วคราวเพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้า และเมื่ออุณหภูมิภายในตู้เย็นสูงขึ้นก็จะเริ่มทำงานใหม่ เพื่อให้อุณหภูมิอยู่ในระดับที่ตั้งไว้<br />\n</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">5.</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">ฉนวนกันความร้อน</span><span>  </span>จะอยู่ภายในตัวตู้เย็น มักจะเป็นโฟมฉีดอัดอยู่ระห่างแผ่นเหล็ก ใช้สำหรับควบคุมไม่ให้อากาศร้อนภายนอกตู้เย็นเข้าไปยังตู้เย็น<span>  </span>และรักษาอุณหภูมิภายในตู้เย็นให้อยู่ในระดับที่ต้องการ ฉนวนกันความร้อนควรอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ไม่ชำรุด รั่ว หรือเป็นรู เพราะจะทำให้คอมเพรสเตอร์ ทำงานหนักส่งผลให้ตู้เย็นเสียได้ในที่สุด<br />\n</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\">6.</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\">สารทำความเย็น</span> ( </span>Refrigerant <span lang=\"TH\">) คือ สารเคมีที่ใช้สำหรับทำให้ตู้เย็นมีอุณหภูมิตามความต้องการ<span>  </span></span></span></span></p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">                                                                               <span style=\"color: #0000ff\">การใช้ตู้เย็น<br />\n</span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></strong></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">     </span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">ควรเลือกใช้ขนาดที่เหมาะสมกับสมาชิกในครอบครัว<br />\n</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">     </span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">ไม่เปิด </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">–<span lang=\"TH\"> ปิดตู้เย็นบ่อย ๆ หรือเปิดทิ้งไว้นาน ๆ เพราะต้องใช้พลังงานมากขึ้นในการทำความเย็นใหม่ ทำให้เปลืองไฟฟ้ามากยิ่งขึ้น<br />\n</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">     </span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">ไม่ควรนำของร้อนแช่ในตู้เย็นทันที ควรปล่อยให้เย็นก่อน<br />\n</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span>4.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">     </span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">ควรตั้งห่างจากฝาผนังไม่น้อยกว่า </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">15<span lang=\"TH\"> เซนติเมตร และมีอากาศถ่ายเท</span><o:p></o:p></span> <br />\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span>5.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">     </span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">หมั่นทำความสะอาดตู้เย็นอย่างน้อยเดือนละ </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\">1<span lang=\"TH\"> ครั้ง</span></span></o:p></span></p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"194\" width=\"260\" src=\"/files/u47750/2_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 236px; height: 168px\" />\n</div>\n<p><o:p></o:p></p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716124562, expire = 1716210962, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c070f64eac2ce6d022cfb9dcfe174f2d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ตู้เย็น

                                                                                  ตู้เย็น

ตู้เย็น แบ่งออกเป็นส่วนต่าง ๆ ดังนี้
1. ตัวตู้เย็น  ทำด้วยเหล็กและอัดฉีดโฟมอยู่ด้านใน มีหลายประเภท หลายขนาด แล้วแต่ความต้องการใช้งานของผู้ใช้ ตู้เย็นประเภทมีประตูเดี่ยวจะประหยัดพลังงานมากกว่าตู้เย็นประเภทหลายประตู ขนาดของตู้เย็นจะเรียกเป็นลูกบาศก์เดซิเมตร ( ลบ.ดม.) หรือ คิว เช่น ตู้เย็นขนาด 113 ลูกบาศก์เดซิเมตร ( 4 คิว ) เป็นต้น
2.แผงเย็น ( Evaporator ) มีลักษณะเป็นแผงอยู่ภายในตู้เย็นมีหน้าที่กระจายความเย็นให้แก่ตู้เย็น
3.แผงร้อน ( Condenser ) มีหน้าที่ระบายความร้อนให้แก่น้ำยาทำความเย็นเพื่อให้น้ำยาทำความเย็นที่อยู่ในสภาพที่เป็นไอเย็นความแน่นกลับกลายเป็นของเหลวอีกครั้งหนึ่ง จะอยู่ด้านหลังหรือด้านใต้ตู้เย็น
4.มอเตอร์คอมเพรสเตอร์ ( Motor Compressor ) มักเรียกสั้นๆว่า คอมเพรสเตอร์ ทำหน้าที่อัดและดูดน้ำยาทำความเย็นให้หมุนเวียนภายในตู้เย็น เมื่อตู้เย็นทำงานถึงเวลาหรือความเย็นที่ตั้งไว้คอมเพรสเตอร์ นี้จะหยุดทำงานชั่วคราวเพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้า และเมื่ออุณหภูมิภายในตู้เย็นสูงขึ้นก็จะเริ่มทำงานใหม่ เพื่อให้อุณหภูมิอยู่ในระดับที่ตั้งไว้
5.ฉนวนกันความร้อน  จะอยู่ภายในตัวตู้เย็น มักจะเป็นโฟมฉีดอัดอยู่ระห่างแผ่นเหล็ก ใช้สำหรับควบคุมไม่ให้อากาศร้อนภายนอกตู้เย็นเข้าไปยังตู้เย็น  และรักษาอุณหภูมิภายในตู้เย็นให้อยู่ในระดับที่ต้องการ ฉนวนกันความร้อนควรอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ไม่ชำรุด รั่ว หรือเป็นรู เพราะจะทำให้คอมเพรสเตอร์ ทำงานหนักส่งผลให้ตู้เย็นเสียได้ในที่สุด
6.สารทำความเย็น ( Refrigerant ) คือ สารเคมีที่ใช้สำหรับทำให้ตู้เย็นมีอุณหภูมิตามความต้องการ 

                                                                               การใช้ตู้เย็น
1.     ควรเลือกใช้ขนาดที่เหมาะสมกับสมาชิกในครอบครัว
2.     ไม่เปิด ปิดตู้เย็นบ่อย ๆ หรือเปิดทิ้งไว้นาน ๆ เพราะต้องใช้พลังงานมากขึ้นในการทำความเย็นใหม่ ทำให้เปลืองไฟฟ้ามากยิ่งขึ้น
3.     ไม่ควรนำของร้อนแช่ในตู้เย็นทันที ควรปล่อยให้เย็นก่อน
4.     ควรตั้งห่างจากฝาผนังไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร และมีอากาศถ่ายเท
5.     หมั่นทำความสะอาดตู้เย็นอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 264 คน กำลังออนไลน์