• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f42ced4dc7f23b32b6b769664316dbdd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #003300\">สมาร์ตโฟน กับสุขภาพ</span></strong>\n</p>\n<p>\nในความเป็นจริงสมาร์ตโฟนก็คือ โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถมากกว่าโทรศัพท์มือถือธรรมดา ถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดพกพาก็ได้ สามารถเชื่อมต่อ รับส่งข้อมูลได้ รองรับการใช้โปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเฉพาะงานต่างๆ โดยอาศัยระบบปฏิบัติการคล้ายๆ กับวินโดว์ที่เราคุ้นเคยกัน  </p>\n<p>ปัจจุบันนี้ ปริมาณการขายสมาร์ตโฟนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีหลากหลายยี่ห้อและระบบปฏิบัติการ ดังเห็นได้จากยอดขาย iPhone 4 ของบริษัทแอปเปิล ซึ่งสามารถขายได้ถึง ๑.๗ ล้านเครื่องหลังจากเปิดขายได้เพียงแค่ ๓ วัน ขณะที่สมาร์ตโฟนของบริษัทอื่นก็มียอดขายมากเช่นกัน  ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ พบว่ายอดขายสมาร์ตโฟนมีมากกว่า ๑๗๐ ล้านเครื่อง ข้อมูลนี้เป็นตัวยืนยันว่ามีการใช้สมาร์ตโฟนกันมากจริงๆ<br />\n \n</p>\n<p>\n<strong>สมาร์ตโฟนกับการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น</strong><br />\nการใช้งานสมาร์ตโฟนมีความจำเพาะแตกต่างจากการใช้โทรศัพท์ธรรมดา เนื่องจากต้องใช้นิ้วกดตัวอักษรมากขึ้น เช่น การตอบอีเมล์ การส่ง SMS และการแชต\n</p>\n<p>\n<strong>การใช้นิ้วมีรูปแบบที่แตกต่างกัน</strong>ขึ้นอยู่กับออกแบบการใส่ตัวอักษรของแต่ละเครื่อง เช่น iPhone ใช้การใส่ตัวอักษรด้วยการใช้นิ้วชี้จิ้ม ต้องใช้มือข้างหนึ่งถือตัวเครื่องไว้ และใช้นิ้วชี้ของอีกข้างกดที่แป้นอักษร การกรอกใส่ตัวอักษรแบบนี้จะทำได้ช้ากว่าเครื่องอื่นที่ใช้รูปแบบการกดแป้นพิมพ์ตัวอักษร โดยใช้นิ้วโป้งของทั้งสองมือเป็นนิ้วคอยป้อนตัวอักษร ส่วนนิ้วอื่นใช้ถือ ประคองเครื่อง ดังเช่นเครื่อง BlackBerry </p>\n<p>เครื่องสมาร์ตโฟนปกติจะมีขนาดเล็ก หากต้องกดตัวอักษรด้วยนิ้วโป้ง จะต้องงอและเกร็งนิ้วโป้งทั้ง ๒ ข้าง การกดลักษณะนี้บ่อยๆ อาจส่งผลทำให้เป็นโรคกลุ่ม<strong>อาการอักเสบของเอ็นข้อมือโคนนิ้วโป้ง</strong> (De Quervain syndrome) <strong>และการอักเสบของเอ็นที่นิ้วมือจนทำให้เกิดอาการนิ้วโป้งล็อก</strong> (Trigger thumb) กลุ่มอาการทั้ง ๒ ชนิดนี้พบได้บ่อย ถึงขนาดมีการให้ชื่อนิ้วโป้งล็อกว่าเป็น <strong>Blackberry Thumb </strong>ซึ่งหากทำการเสิร์ชในกูเกิลจะพบเว็บไซต์ที่กล่าวถึงคำนี้มากกว่า ๒๘๐,๐๐๐ เว็บ ทั้งนี้ผู้เขียนได้เคยเขียนถึงกลุ่มอาการทั้ง ๒ ลงในคอลัมน์นี้มาแล้ว โดยได้เล่าถึงลักษณะของอาการ ปัจจัยการเกิด และการดูแลรักษาเอาไว้ด้วย</p>\n<p>นอกจากกลุ่มอาการทั้ง ๒ แล้ว การถือสมาร์ตโฟนนานๆ ขณะใช้งาน ยังอาจส่งผลทำให้เกิด<strong>อาการปวดบ่าและคอ</strong> เนื่องจากกล้ามเนื้อบ่าจะทำงานในลักษณะเกร็งคงค้าง ทำให้มีการสะสมของเสียในกล้ามเนื้อจนกระทั่งกล้ามเนื้อเกร็งตัวมากขึ้น </p>\n<p>ขณะเดียวกันตัวเครื่องสมาร์ตโฟนมีขนาดเล็ก ตัวอักษรก็มีขนาดเล็กด้วย ทำให้มองหน้าจอลำบาก หลายคนจึงต้องก้มคอเพื่อให้มองดูตัวอักษรหรือหน้าจอได้ถนัดขึ้น ส่งผลทำให้กล้ามเนื้อคอและสายตาต้องทำงานหนัก ทำให้ปวดคอและตาได้\n</p>\n<p>\n<strong>ความเครียดกับการใช้สมาร์ตโฟน</strong><br />\nสมาร์ตโฟนอาจเป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความสะดวกสบาย ใช้งานได้รวดเร็ว รับข่าวสารได้ทันใจ หลายๆ คนอาจมองว่าเป็นอุปกรณ์ที่ลดภาระการทำงานของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ต้องติดต่อกับคนเป็นจำนวนมาก การเปิดออนไลน์ไว้ตลอดเวลาสามารถทำให้เราติดต่อกับคนอื่นที่ใช้เครื่องลักษณะเดียวกันได้ทุกเวลา และยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายโดยรวมด้วย</p>\n<p>อย่างไรก็ตาม ลักษณะเช่นนี้อาจเป็นดาบ ๒ คมได้ เนื่องจากการที่มีข้อมูลส่งมาบ่อยๆ อาจส่งผลต่อสมาธิในการทำงาน และทุกครั้งที่มีข้อมูลเข้ามา ย่อมสงสัยว่าข้อมูลนั้นคืออะไร เป็นเรื่องสำคัญหรือไม่ ทำให้ต้องเปิดดูและตอบสนองกับข้อมูลนั้น ถ้าไม่บ่อยครั้งนักก็คงไม่เป็นอะไร แต่ถ้าบ่อยมากขึ้น อาจเป็นการรบกวนสมาธิการทำงาน จนก่อให้เกิดความเครียดและการตึงตัวของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้ามเนื้อบ่า ไหล่ และคอ\n</p>\n<p>\n        นอกจากกล้ามเนื้อแล้วสมาร์ตโฟนอาจส่งผลต่อการหายใจ ทำให้หายใจติดขัด เพราะเวลาเครียด คนเรามักหายใจด้วยการใช้กล้ามเนื้ออกส่วนบนและคอ มากกว่าการใช้กล้ามเนื้อกะบังลม ผลจากการหายใจลักษณะนี้บ่อยๆ อาจส่งผลต่ออาการเหนื่อยง่ายและกล้ามเนื้ออักเสบได<br />\nภาวะความเครียดกับสมาร์ตโฟนนี้ สามารถสังเกตได้ชัดว่าเราเป็นคนหนึ่งหรือเปล่าที่เครียด <br />\nกรณีที่ ๑<strong> ลืมโทรศัพท์ไว้ที่บ้าน </strong>มักจะกังวลว่าอาจมีคนติดต่อมา บางครั้งกังวลขนาดต้องกลับบ้านเพื่อไปเอาโทรศัพท์มา\n</p>\n<p>\nกรณีที่ ๒ <strong>ไปเที่ยวไกลๆ นอกเขตเมืองและไม่มีสัญญาณของโทรศัพท์เลย</strong> นั่นคือจะโทร.ออกหรือรับสายเข้าไม่ได้ กลับไม่รู้สึกถึงความกังวลเท่าไหร่ และอาจจะลืมเรื่องโทรศัพท์ไปเลย ถ้าผู้อ่านมีลักษณะดังกรณีที่ ๑ ถือว่าค่อนข้างเครียดกับการใช้โทรศัพท์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>ใช้สมาร์ตโฟนอย่างปลอดภัย</strong><br />\nคงเป็นเรื่องยากถ้าจะหลีกเลี่ยงการใช้สมาร์ตโฟน เพราะสังคมมีการใช้กันมากขึ้น ดังนั้น ควรรู้จักใช้ เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดและห่างไกลจากการบาดเจ็บมากที่สุด ผู้เขียนขอแนะนำการใช้งานสมาร์ตโฟนอย่างปลอดภัย ดังนี้\n</p>\n<p>\n๑. ใช้งานพิมพ์ด้วยนิ้วมือเท่าที่จำเป็น หากจำเป็นต้องพิมพ์มากให้พิมพ์โดยใช้แป้นพิมพ์ผ่านทางคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\n๒. ใช้การพูดผ่านทางโทรศัพท์ หรือข้อความเสียง แทนการพิมพ์\n</p>\n<p>\n๓. หลีกเลี่ยงการใช้งานต่อเนื่องนานๆ อาจทำการพักบ้างเพื่อลดการทำงานของกล้ามเนื้อ\n</p>\n<p>\n๔. ให้ยกสมาร์ตโฟนให้สูงขึ้นเพื่อลดการก้มคอและศีรษะ โดยอาจใช้หมอนหรือกระเป๋าคอยรองแขนเพื่อลดการเกร็งตัวของบ่า\n</p>\n<p>\n๕. หากต้องการใช้สมาธิในการทำงาน ควรปิดการสื่อสารชั่วคราว หรืออาจให้เหลือแค่การรับสายโทรศัพท์ เพื่อลดการดึงความสนใจเมื่อมีข้อความเข้ามา\n</p>\n<p>\n๖. ขณะพัก ให้ทำการยืดเหยียดนิ้วและแขนให้สุด สลับกับการกำมือแน่นๆ ช้าๆ สัก ๑๐ ครั้ง หรืออาจทำการนวดคลายกล้ามเนื้อและเอ็นด้วยตนเองบ้าง \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715666214, expire = 1715752614, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f42ced4dc7f23b32b6b769664316dbdd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ผู้หญิงกับการดูแลสุขภาพ

สมาร์ตโฟน กับสุขภาพ

ในความเป็นจริงสมาร์ตโฟนก็คือ โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถมากกว่าโทรศัพท์มือถือธรรมดา ถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดพกพาก็ได้ สามารถเชื่อมต่อ รับส่งข้อมูลได้ รองรับการใช้โปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเฉพาะงานต่างๆ โดยอาศัยระบบปฏิบัติการคล้ายๆ กับวินโดว์ที่เราคุ้นเคยกัน 

ปัจจุบันนี้ ปริมาณการขายสมาร์ตโฟนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีหลากหลายยี่ห้อและระบบปฏิบัติการ ดังเห็นได้จากยอดขาย iPhone 4 ของบริษัทแอปเปิล ซึ่งสามารถขายได้ถึง ๑.๗ ล้านเครื่องหลังจากเปิดขายได้เพียงแค่ ๓ วัน ขณะที่สมาร์ตโฟนของบริษัทอื่นก็มียอดขายมากเช่นกัน  ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ พบว่ายอดขายสมาร์ตโฟนมีมากกว่า ๑๗๐ ล้านเครื่อง ข้อมูลนี้เป็นตัวยืนยันว่ามีการใช้สมาร์ตโฟนกันมากจริงๆ
 

สมาร์ตโฟนกับการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น
การใช้งานสมาร์ตโฟนมีความจำเพาะแตกต่างจากการใช้โทรศัพท์ธรรมดา เนื่องจากต้องใช้นิ้วกดตัวอักษรมากขึ้น เช่น การตอบอีเมล์ การส่ง SMS และการแชต

การใช้นิ้วมีรูปแบบที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับออกแบบการใส่ตัวอักษรของแต่ละเครื่อง เช่น iPhone ใช้การใส่ตัวอักษรด้วยการใช้นิ้วชี้จิ้ม ต้องใช้มือข้างหนึ่งถือตัวเครื่องไว้ และใช้นิ้วชี้ของอีกข้างกดที่แป้นอักษร การกรอกใส่ตัวอักษรแบบนี้จะทำได้ช้ากว่าเครื่องอื่นที่ใช้รูปแบบการกดแป้นพิมพ์ตัวอักษร โดยใช้นิ้วโป้งของทั้งสองมือเป็นนิ้วคอยป้อนตัวอักษร ส่วนนิ้วอื่นใช้ถือ ประคองเครื่อง ดังเช่นเครื่อง BlackBerry

เครื่องสมาร์ตโฟนปกติจะมีขนาดเล็ก หากต้องกดตัวอักษรด้วยนิ้วโป้ง จะต้องงอและเกร็งนิ้วโป้งทั้ง ๒ ข้าง การกดลักษณะนี้บ่อยๆ อาจส่งผลทำให้เป็นโรคกลุ่มอาการอักเสบของเอ็นข้อมือโคนนิ้วโป้ง (De Quervain syndrome) และการอักเสบของเอ็นที่นิ้วมือจนทำให้เกิดอาการนิ้วโป้งล็อก (Trigger thumb) กลุ่มอาการทั้ง ๒ ชนิดนี้พบได้บ่อย ถึงขนาดมีการให้ชื่อนิ้วโป้งล็อกว่าเป็น Blackberry Thumb ซึ่งหากทำการเสิร์ชในกูเกิลจะพบเว็บไซต์ที่กล่าวถึงคำนี้มากกว่า ๒๘๐,๐๐๐ เว็บ ทั้งนี้ผู้เขียนได้เคยเขียนถึงกลุ่มอาการทั้ง ๒ ลงในคอลัมน์นี้มาแล้ว โดยได้เล่าถึงลักษณะของอาการ ปัจจัยการเกิด และการดูแลรักษาเอาไว้ด้วย

นอกจากกลุ่มอาการทั้ง ๒ แล้ว การถือสมาร์ตโฟนนานๆ ขณะใช้งาน ยังอาจส่งผลทำให้เกิดอาการปวดบ่าและคอ เนื่องจากกล้ามเนื้อบ่าจะทำงานในลักษณะเกร็งคงค้าง ทำให้มีการสะสมของเสียในกล้ามเนื้อจนกระทั่งกล้ามเนื้อเกร็งตัวมากขึ้น

ขณะเดียวกันตัวเครื่องสมาร์ตโฟนมีขนาดเล็ก ตัวอักษรก็มีขนาดเล็กด้วย ทำให้มองหน้าจอลำบาก หลายคนจึงต้องก้มคอเพื่อให้มองดูตัวอักษรหรือหน้าจอได้ถนัดขึ้น ส่งผลทำให้กล้ามเนื้อคอและสายตาต้องทำงานหนัก ทำให้ปวดคอและตาได้

ความเครียดกับการใช้สมาร์ตโฟน
สมาร์ตโฟนอาจเป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความสะดวกสบาย ใช้งานได้รวดเร็ว รับข่าวสารได้ทันใจ หลายๆ คนอาจมองว่าเป็นอุปกรณ์ที่ลดภาระการทำงานของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ต้องติดต่อกับคนเป็นจำนวนมาก การเปิดออนไลน์ไว้ตลอดเวลาสามารถทำให้เราติดต่อกับคนอื่นที่ใช้เครื่องลักษณะเดียวกันได้ทุกเวลา และยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายโดยรวมด้วย

อย่างไรก็ตาม ลักษณะเช่นนี้อาจเป็นดาบ ๒ คมได้ เนื่องจากการที่มีข้อมูลส่งมาบ่อยๆ อาจส่งผลต่อสมาธิในการทำงาน และทุกครั้งที่มีข้อมูลเข้ามา ย่อมสงสัยว่าข้อมูลนั้นคืออะไร เป็นเรื่องสำคัญหรือไม่ ทำให้ต้องเปิดดูและตอบสนองกับข้อมูลนั้น ถ้าไม่บ่อยครั้งนักก็คงไม่เป็นอะไร แต่ถ้าบ่อยมากขึ้น อาจเป็นการรบกวนสมาธิการทำงาน จนก่อให้เกิดความเครียดและการตึงตัวของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้ามเนื้อบ่า ไหล่ และคอ

        นอกจากกล้ามเนื้อแล้วสมาร์ตโฟนอาจส่งผลต่อการหายใจ ทำให้หายใจติดขัด เพราะเวลาเครียด คนเรามักหายใจด้วยการใช้กล้ามเนื้ออกส่วนบนและคอ มากกว่าการใช้กล้ามเนื้อกะบังลม ผลจากการหายใจลักษณะนี้บ่อยๆ อาจส่งผลต่ออาการเหนื่อยง่ายและกล้ามเนื้ออักเสบได
ภาวะความเครียดกับสมาร์ตโฟนนี้ สามารถสังเกตได้ชัดว่าเราเป็นคนหนึ่งหรือเปล่าที่เครียด
กรณีที่ ๑ ลืมโทรศัพท์ไว้ที่บ้าน มักจะกังวลว่าอาจมีคนติดต่อมา บางครั้งกังวลขนาดต้องกลับบ้านเพื่อไปเอาโทรศัพท์มา

กรณีที่ ๒ ไปเที่ยวไกลๆ นอกเขตเมืองและไม่มีสัญญาณของโทรศัพท์เลย นั่นคือจะโทร.ออกหรือรับสายเข้าไม่ได้ กลับไม่รู้สึกถึงความกังวลเท่าไหร่ และอาจจะลืมเรื่องโทรศัพท์ไปเลย ถ้าผู้อ่านมีลักษณะดังกรณีที่ ๑ ถือว่าค่อนข้างเครียดกับการใช้โทรศัพท์

 

ใช้สมาร์ตโฟนอย่างปลอดภัย
คงเป็นเรื่องยากถ้าจะหลีกเลี่ยงการใช้สมาร์ตโฟน เพราะสังคมมีการใช้กันมากขึ้น ดังนั้น ควรรู้จักใช้ เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดและห่างไกลจากการบาดเจ็บมากที่สุด ผู้เขียนขอแนะนำการใช้งานสมาร์ตโฟนอย่างปลอดภัย ดังนี้

๑. ใช้งานพิมพ์ด้วยนิ้วมือเท่าที่จำเป็น หากจำเป็นต้องพิมพ์มากให้พิมพ์โดยใช้แป้นพิมพ์ผ่านทางคอมพิวเตอร์

๒. ใช้การพูดผ่านทางโทรศัพท์ หรือข้อความเสียง แทนการพิมพ์

๓. หลีกเลี่ยงการใช้งานต่อเนื่องนานๆ อาจทำการพักบ้างเพื่อลดการทำงานของกล้ามเนื้อ

๔. ให้ยกสมาร์ตโฟนให้สูงขึ้นเพื่อลดการก้มคอและศีรษะ โดยอาจใช้หมอนหรือกระเป๋าคอยรองแขนเพื่อลดการเกร็งตัวของบ่า

๕. หากต้องการใช้สมาธิในการทำงาน ควรปิดการสื่อสารชั่วคราว หรืออาจให้เหลือแค่การรับสายโทรศัพท์ เพื่อลดการดึงความสนใจเมื่อมีข้อความเข้ามา

๖. ขณะพัก ให้ทำการยืดเหยียดนิ้วและแขนให้สุด สลับกับการกำมือแน่นๆ ช้าๆ สัก ๑๐ ครั้ง หรืออาจทำการนวดคลายกล้ามเนื้อและเอ็นด้วยตนเองบ้าง 

 

 

สร้างโดย: 
successfull

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 435 คน กำลังออนไลน์