• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a2d36cdc02b860ab05b021c9095fe41d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p> \n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #339966\"></span>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #339966\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #339966\">     </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #339966\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #339966\"></span>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #339966\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #339966\"></span>\n</div>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #339966\"><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">3.3<span>  </span>ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรต่างชนิดกัน<span>  </span>(</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Interspecific Interactions in Community)<span>   </span></span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #339966\"><strong>               </strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สิ่งมีชีวิตทั้งหลายในสังคมต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน อาจมีทั้งพึ่งพาและแก่งแย่งกัน ความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆทำให้สิ่งมีชีวิตมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันซึ่งแบ่งได้เป็น 3 แบบใหญ่ๆได้แก่ การแก่งแย่ง (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">competition) <span lang=\"TH\">การล่าเหยื่อ</span> (predation)<span lang=\"TH\"> และภาวะอยู่ร่วมกัน (</span>symbiosis)<span lang=\"TH\"> ซึ่งแต่ละแบบทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับตัวด้านวิวัฒนาการ ผ่านทางการคัดเลือกธรรมชาติมา การเรียนรู้ถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปแบบต่างๆดังกล่าว ทำให้เข้าใจถึงการ</span><o:p></o:p></span> </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #339966\">เปลี่ยนแปลงประชากรในสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #339966\"><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                    3.3.1 การแก่งแย่งระหว่าง สปีชีส์<span>  </span>(</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Competition between Species)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> <span lang=\"TH\">เมื่อประชากรของสังคมมี สองสปีชีส์ หรือมากกว่าและ อาศัยแหล่งทรัพยากรจำกัดที่คล้ายกันเรียกว่ามี การแก่งแย่งระหว่างปีชีส์เกิดขึ้น</span></span> </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #339966\"><img width=\"476\" src=\"http://psc.pbru.ac.th/lesson/ECOSYSTEM.files/image086.jpg\" height=\"300\" /> </span>\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ภาพที่ <span>  </span>การแก่งแย่งระหว่างพารามีเซียม 2 ชนิดในห้องปฏิบัติการ (กราฟบน) เมื่อเลี้ยงแยกกัน </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>   </span><span lang=\"TH\">และให้แบคทีเรียเป็นอาหารจำนวนคงที่ทุกวัน ประชากรของพารามีเซียมทั้งสองเจริญถึงจุด </span>carrying capacity<span lang=\"TH\"> แต่ถ้านำพารามีเซียมทั้งสองชนิดมาเลี้ยงไว้ด้วยกัน (กราฟ ล่าง)<span>  </span></span>P. aurelia <span lang=\"TH\"><span> </span>มีการแข่งขันเมื่อได้รับอาหาร และทำให้ </span>P. caudatum <span lang=\"TH\">สูญพันธุ์ไป</span><o:p></o:p></span> </span></span></span></p>\n', created = 1726800491, expire = 1726886891, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a2d36cdc02b860ab05b021c9095fe41d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบนิเวศ

    

3.3  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรต่างชนิดกัน  (Interspecific Interactions in Community)  

               สิ่งมีชีวิตทั้งหลายในสังคมต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน อาจมีทั้งพึ่งพาและแก่งแย่งกัน ความสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆทำให้สิ่งมีชีวิตมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันซึ่งแบ่งได้เป็น 3 แบบใหญ่ๆได้แก่ การแก่งแย่ง (competition) การล่าเหยื่อ (predation) และภาวะอยู่ร่วมกัน (symbiosis) ซึ่งแต่ละแบบทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับตัวด้านวิวัฒนาการ ผ่านทางการคัดเลือกธรรมชาติมา การเรียนรู้ถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปแบบต่างๆดังกล่าว ทำให้เข้าใจถึงการ

เปลี่ยนแปลงประชากรในสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น

                    3.3.1 การแก่งแย่งระหว่าง สปีชีส์  (Competition between Species) เมื่อประชากรของสังคมมี สองสปีชีส์ หรือมากกว่าและ อาศัยแหล่งทรัพยากรจำกัดที่คล้ายกันเรียกว่ามี การแก่งแย่งระหว่างปีชีส์เกิดขึ้น

ภาพที่   การแก่งแย่งระหว่างพารามีเซียม 2 ชนิดในห้องปฏิบัติการ (กราฟบน) เมื่อเลี้ยงแยกกัน    และให้แบคทีเรียเป็นอาหารจำนวนคงที่ทุกวัน ประชากรของพารามีเซียมทั้งสองเจริญถึงจุด carrying capacity แต่ถ้านำพารามีเซียมทั้งสองชนิดมาเลี้ยงไว้ด้วยกัน (กราฟ ล่าง)  P. aurelia  มีการแข่งขันเมื่อได้รับอาหาร และทำให้ P. caudatum สูญพันธุ์ไป

สร้างโดย: 
nattaporn63

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 539 คน กำลังออนไลน์