• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.142.244.66', 0, 'c9cf87f67bd34fb7f8f3fcae18b2ee28', 157, 1716106670) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:26350dc8a5b232c2da8626c4e24c6e41' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <img height=\"134\" width=\"300\" src=\"/files/u40196/100.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nงาน / กำลัง / พลังงาน /พลังงานจลน์ / พลังงานศักย์ \n</p>\n<p align=\"center\">\nทฤษฎีพลังงาน /กฎการอนุรักษ์พลังงาน /ประสิทธิภาพ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n--------------------------------------------------------------------------------\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>งาน  <br />\n</strong></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"90\" width=\"388\" src=\"/files/u40196/101.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p> <br />\n โดยแรง F และการกระจัด S จะต้องอยู่ในแนวเดียวกัน <br />\nงานเป็นปริมาณสเกลลาร์ หน่วยของงาน คือ นิวตัน.เมตร หรือ จูล(J) </p>\n<p>\n* ถ้าแรง F มีทิศเดียวกับการกระจัด S จะเป็นแรงช่วย งานW จะมีเครื่องหมายเป็นบวก<br />\n* ถ้าแรง F มีทิศเตรงข้ามกับการกระจัด S จะเป็นแรงต้าน งานW จะมีเครื่องหมายเป็นลบ<br />\n* ถ้าแรง F ตั้งฉากกับการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ จะไม่เกิดงาน<br />\n* ถ้าแรง F ทำมุมกับแนวการเคลื่อนที่ ต้องแตกแรงให้อยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ก่อน\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"144\" width=\"262\" src=\"/files/u40196/102.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n(<a href=\"http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/Image48.gif\">http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/Image48.gif</a>)  <br />\n  </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"100\" width=\"217\" src=\"/files/u40196/103.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n W     = งาน มีหน่วยเป็นจูล J หรือนิวตัน - เมตร <br />\n F      = แรง มีหน่วยเป็น นิวตัน <br />\n S      = ระยะทาง มีหน่วยเป็น เมตร   <br />\n <img height=\"15\" width=\"10\" src=\"/files/u31716/Image50.gif\" /> = มุมที่อยู่ระหว่างแรง (F) กับระยะทาง (S)\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>กำ ลั ง ( P o w e r ,P)</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><br />\n</strong></span>กำลัง (P) คือ งานที่ทำใได้ใน 1 วินาที หรือ อัตราการทำงาน\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"61\" width=\"258\" src=\"/files/u40196/105.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<br />\nP = กำลัง มีหน่วยเป็น วัตต์ <br />\nW = งานที่ทำได้ มีหน่วยเป็น จูล <br />\nt = เวลาที่ใช้ มีหน่วยเป็น วินาที  \n</p>\n<p>\n &quot; โดย F จะต้องเป็นแรงหรือองค์ประกอบของแรงที่อยุ่ในแนวการเคลื่อนที่ &quot;\n</p>\n<p>\nกำลังเป็นปริมาณสกลลาร์ หน่วยเป็นจูล/ วินาที หรือ เรียกว่า วัตต์ (Watt เขียนย่อว่า W)<br />\nกำลังมีหน่วยที่นิยมใช้อีกหน่วยหนึ่ง คือ กำลังม้า (Horse power,H.p.) โดย\n</p>\n<blockquote><p align=\"center\">\n 1 กำลังม้า (H.P.)  = 746 วัตต์\n </p>\n</blockquote>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>พ ลั ง ง า น (E n e r g y , E) </strong></span>\n</p>\n<p>\n พลังงาน คือ ความสามารถของวัตถุที่จะทำงานได้(หรือ พลังงาน คือ งานที่วัตถุทำได้)\n</p>\n<p>\n พลังงานเป็นปริมาณสเกลาร์ พลังงานมีหน่วยคือ จูล(J)\n</p>\n<p>\nพลังงานกล แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ\n</p>\n<p>\n1. พลังงานจลน์ (K.E. - kinetic Energy) เป็นพลังงานที่อยู่ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่\n</p>\n<p>\n2. พลังงานศักย์(P.E. - potenxtial energy) เป็นพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุ\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>พลังงานจลน์</strong> <br />\nเป็นพลังงานที่อยู่ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"118\" width=\"472\" src=\"/files/u40196/106.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n(<a href=\"http://www.bkw.ac.th/content/snet3/kung/Kinetic/move.gif\">http://www.bkw.ac.th/content/snet3/kung/Kinetic/move.gif</a>)\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"70\" width=\"154\" src=\"/files/u40196/107.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nE<sub>k</sub> = พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไปมีหน่วยเป็น จูล (ตอนปลาย - ตอนต้น)\n</p>\n<p>\nm = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม\n</p>\n<p>\nv = ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>พลังงานศักย์ </strong>\n</p>\n<p>\n เป็นพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุ แบ่งเป็น\n</p>\n<p>\n 2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง (E<sub>P</sub>) มีขนาดเท่ากับงานที่ใช้ในการเปลี่ยนตำแหน่งความสูงของวัตถุจากพื้นล่าง </p>\n<p> \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"70\" width=\"174\" src=\"/files/u40196/108.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\nE<sub>P</sub> = พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีหน่วยเป็นจูล\n</p>\n<p>\nm = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็นกิโลกรัม\n</p>\n<p>\ng = ค่าแรงโน้มถ่วง\n</p>\n<p>\nh = ความสูงระยะห่างจากระดับอ้างอิง มีหน่วยเป็นเมตร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น(E<sub>P</sub>) เป็นพลังงานที่มีอยู่ ในวัตถุที่มีความยืดหยุ่น เช่น หนังยาง สปริง ฯลฯ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"70\" width=\"240\" src=\"/files/u40196/109.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\nF = แรงยืดหยุ่นสปริง\n</p>\n<p>\nk = ค่าคงตัวของสปริง มีหน่วยเป็น นิวตัน/เมตร\n</p>\n<p>\ns = ระยะยืดของสปริง มีหน่วยเป็น เมตร\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"70\" width=\"225\" src=\"/files/u40196/110.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\nE<sub>P</sub> = พลังงานศักย์ยืดหยุ่น มีหน่วยเป็น จูล\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nท ฤ ษ ฎี พ ลั ง ง า น\n</p>\n<p>\n งานทั้งหมด \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"70\" width=\"259\" src=\"/files/u40196/111.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n <br />\nv = ความเร็วต้น </p>\n<p>\nu = ความเร็วปลาย\n</p>\n<p>\nหลักการของการทำงานของเครื่องกลทุกชนิด\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"128\" width=\"303\" src=\"/files/u40196/112.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\nกฎการอนุรักษ์พลังงาน (Conservation of energy)\n</p>\n<p>\n&quot;พลังงานเป็นสิ่งที่ไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้ และไม่สามารถที่จะทำให้สูญหายไปได้ ดังนั้นพลังงานรวมทั้งหมดของวัตถุก้อนใดก้อนหนึ่งไม่ว่าอยู่ตำแหร่งใด ๆ ย่อมมีค่าเท่ากันทุก ๆ ตำแหน่ง &quot; กฏนี้ใช้ได้เฉพาะเมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุยกเว้นแรงโน้มถ่วงและแรงสปริง\n</p>\n<p>\nผลรวมของพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของวัตถุ เรียกว่า พลังงานกลรวมวัตถุ \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"144\" width=\"303\" src=\"/files/u40196/113.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\nป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ\n</p>\n<p>\nประสิทธิภาพ (Eff) เป็นอัตราส่วนบอกให้ทราบว่าเครื่องกลนั้นๆ จะทำงานออกมาได้กี่เท่าของงานที่ใส่เข้าไป มักตอบเป็นร้อยละ หรือ เปอร์เซ็น\n</p>\n<p>\n*(ไม่มีหน่วย) \n</p>\n<p>\n&gt;&gt;ถ้าเครื่องกลสมบูรณ์ ประสิทธิภาพเป็น100% จะทำให้\n</p>\n<p>\nW <sub>Out</sub> =  W <sub>in</sub>\n</p>\n<p>\nP <sub>Out</sub> = P <sub>in</sub>\n</p>\n<p>\nA.M.A = T.M.A\n</p>\n<p>\nสูตร \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"353\" width=\"411\" src=\"/files/u40196/114.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n <br />\n  </p>\n', created = 1716106720, expire = 1716193120, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:26350dc8a5b232c2da8626c4e24c6e41' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งาน พลังงาน

 

งาน / กำลัง / พลังงาน /พลังงานจลน์ / พลังงานศักย์ 

ทฤษฎีพลังงาน /กฎการอนุรักษ์พลังงาน /ประสิทธิภาพ 

 

--------------------------------------------------------------------------------


งาน  

 
 โดยแรง F และการกระจัด S จะต้องอยู่ในแนวเดียวกัน
งานเป็นปริมาณสเกลลาร์ หน่วยของงาน คือ นิวตัน.เมตร หรือ จูล(J)

* ถ้าแรง F มีทิศเดียวกับการกระจัด S จะเป็นแรงช่วย งานW จะมีเครื่องหมายเป็นบวก
* ถ้าแรง F มีทิศเตรงข้ามกับการกระจัด S จะเป็นแรงต้าน งานW จะมีเครื่องหมายเป็นลบ
* ถ้าแรง F ตั้งฉากกับการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ จะไม่เกิดงาน
* ถ้าแรง F ทำมุมกับแนวการเคลื่อนที่ ต้องแตกแรงให้อยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ก่อน

(http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/Image48.gif)  
 

 W     = งาน มีหน่วยเป็นจูล J หรือนิวตัน - เมตร
 F      = แรง มีหน่วยเป็น นิวตัน
 S      = ระยะทาง มีหน่วยเป็น เมตร   
  = มุมที่อยู่ระหว่างแรง (F) กับระยะทาง (S)


กำ ลั ง ( P o w e r ,P)


กำลัง (P) คือ งานที่ทำใได้ใน 1 วินาที หรือ อัตราการทำงาน


P = กำลัง มีหน่วยเป็น วัตต์
W = งานที่ทำได้ มีหน่วยเป็น จูล
t = เวลาที่ใช้ มีหน่วยเป็น วินาที  

 " โดย F จะต้องเป็นแรงหรือองค์ประกอบของแรงที่อยุ่ในแนวการเคลื่อนที่ "

กำลังเป็นปริมาณสกลลาร์ หน่วยเป็นจูล/ วินาที หรือ เรียกว่า วัตต์ (Watt เขียนย่อว่า W)
กำลังมีหน่วยที่นิยมใช้อีกหน่วยหนึ่ง คือ กำลังม้า (Horse power,H.p.) โดย

1 กำลังม้า (H.P.)  = 746 วัตต์

 

พ ลั ง ง า น (E n e r g y , E)

 พลังงาน คือ ความสามารถของวัตถุที่จะทำงานได้(หรือ พลังงาน คือ งานที่วัตถุทำได้)

 พลังงานเป็นปริมาณสเกลาร์ พลังงานมีหน่วยคือ จูล(J)

พลังงานกล แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

1. พลังงานจลน์ (K.E. - kinetic Energy) เป็นพลังงานที่อยู่ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่

2. พลังงานศักย์(P.E. - potenxtial energy) เป็นพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุ


พลังงานจลน์
เป็นพลังงานที่อยู่ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่

(http://www.bkw.ac.th/content/snet3/kung/Kinetic/move.gif)

 

Ek = พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไปมีหน่วยเป็น จูล (ตอนปลาย - ตอนต้น)

m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม

v = ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที


พลังงานศักย์

 เป็นพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุ แบ่งเป็น

 2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง (EP) มีขนาดเท่ากับงานที่ใช้ในการเปลี่ยนตำแหน่งความสูงของวัตถุจากพื้นล่าง 

 

EP = พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีหน่วยเป็นจูล

m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็นกิโลกรัม

g = ค่าแรงโน้มถ่วง

h = ความสูงระยะห่างจากระดับอ้างอิง มีหน่วยเป็นเมตร

 

2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น(EP) เป็นพลังงานที่มีอยู่ ในวัตถุที่มีความยืดหยุ่น เช่น หนังยาง สปริง ฯลฯ

F = แรงยืดหยุ่นสปริง

k = ค่าคงตัวของสปริง มีหน่วยเป็น นิวตัน/เมตร

s = ระยะยืดของสปริง มีหน่วยเป็น เมตร

EP = พลังงานศักย์ยืดหยุ่น มีหน่วยเป็น จูล

 

ท ฤ ษ ฎี พ ลั ง ง า น

 งานทั้งหมด 

 
v = ความเร็วต้น

u = ความเร็วปลาย

หลักการของการทำงานของเครื่องกลทุกชนิด

กฎการอนุรักษ์พลังงาน (Conservation of energy)

"พลังงานเป็นสิ่งที่ไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้ และไม่สามารถที่จะทำให้สูญหายไปได้ ดังนั้นพลังงานรวมทั้งหมดของวัตถุก้อนใดก้อนหนึ่งไม่ว่าอยู่ตำแหร่งใด ๆ ย่อมมีค่าเท่ากันทุก ๆ ตำแหน่ง " กฏนี้ใช้ได้เฉพาะเมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุยกเว้นแรงโน้มถ่วงและแรงสปริง

ผลรวมของพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของวัตถุ เรียกว่า พลังงานกลรวมวัตถุ 

ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ

ประสิทธิภาพ (Eff) เป็นอัตราส่วนบอกให้ทราบว่าเครื่องกลนั้นๆ จะทำงานออกมาได้กี่เท่าของงานที่ใส่เข้าไป มักตอบเป็นร้อยละ หรือ เปอร์เซ็น

*(ไม่มีหน่วย) 

>>ถ้าเครื่องกลสมบูรณ์ ประสิทธิภาพเป็น100% จะทำให้

W Out =  W in

P Out = P in

A.M.A = T.M.A

สูตร 

 
 

สร้างโดย: 
นางสาวรุจิวรรณ ลิขิตรุ่งเรือง และ นางสาวสุชญา เจียนโภคกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 375 คน กำลังออนไลน์