• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9474ff5fc417b019e990601b32eee191' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ชนิดของทรัพยากรน้ำ</span></span></strong> </span></span></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\">***</span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">น้ำผิวดิน</span></span><span style=\"color: #ff0000\">***</span></span></span></span></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">\n<hr id=\"null\" />\n</span></strong></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">           <span style=\"color: #000000\">  <span style=\"color: #000000\">  ได้แก่ น้ำในแม่น้ำลำคลอง ทะเลสาบ และในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นน้ำจืด ปกติน้ำ</span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">ผิวดินจะได้รับการเติมจากฝนหรือหิมะ และจะหายไปตามธรรมชาติด้วยการระเหย การไหลออกสู่ทะเล และการซึมลงไปใต้ดิน</span></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">               น้ำผิวดินตามธรรมชาติสามารถเพิ่มพูนได้โดยการนำน้ำเข้ามาจากแหล่งในลุ่มน้ำอื่นด้วยการขุดคลองส่งน้ำหรือวางท่อส่งน้ำ หรืออาจทำด้วยวิธีอื่นๆ แต่ก็ได้ไม่มาก มนุษย์</span>เรามีส่วนทำให้ระบบน้ำผิวดินไม่มั่นคงหรือ &quot;หายไป&quot; จากการสร้างมลพิษ</span></span></span><o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"286\" width=\"272\" src=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi2/subwater/w8.gif\" alt=\"วัฎจักรน้ำ\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span></span></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">***</span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">น้ำใต้ผิวดิน</span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">***</span></span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"> </span></span></span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">           <span style=\"color: #000000\">   <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> หมายถึง น้ำจืดที่ขังอยู่ในช่องว่างของดินหรือหิน และยังหมายถึงน้ำที่ไหลอยู่ภายในชั้นหินอุ้มน้ำ หรือชั้นน้ำ (</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">Aquifer) <span lang=\"TH\">ซึ่งอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน (</span>water table) </span></span></span></span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">          </span>    <span style=\"color: #0000ff\"> <span lang=\"TH\">น้ำใต้ผิวดินอาจคิดเชิงคำศัพท์ให้หมือนน้ำผิวดินก็ได้ นั่นคือ การรับเข้า (</span>inputs) <span lang=\"TH\">การปล่อยออก (</span>outputs) <span lang=\"TH\">และการเก็บกัก (</span>storage) <span lang=\"TH\">นัยสำคัญของความแตกต่างก็คือ ในแง่ของน้ำใต้ผิวดิน ที่เก็บกักมักมีขนาดใหญ่มากเมื่อเปรียบเทียบกับการรับเข้า ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำผิวดินที่มีขนาดเก็บกักเล็กแต่มีขนาดการรับเข้ามากกว่า ข้อแตกต่างนี้เองที่ทำให้มนุษย์สามารถใช้น้ำใต้ดินได้มากมาย (แบบไม่ยั่งยืน) ได้เป็นเวลานาน</span></span> </span></span></span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><img height=\"289\" width=\"272\" src=\"http://www.school.net.th/library/snet6/envi2/subwater/w7.gif\" align=\"middle\" alt=\"ประเภทน้ำใต้ดิน\" border=\"0\" /></span></span> </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" border=\"0\" title=\"Laughing\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" border=\"0\" title=\"Laughing\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" border=\"0\" title=\"Laughing\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" border=\"0\" title=\"Laughing\" /></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n', created = 1726515747, expire = 1726602147, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9474ff5fc417b019e990601b32eee191' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทรัพยากรน้ำ

ชนิดของทรัพยากรน้ำ
***น้ำผิวดิน***

               ได้แก่ น้ำในแม่น้ำลำคลอง ทะเลสาบ และในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นน้ำจืด ปกติน้ำผิวดินจะได้รับการเติมจากฝนหรือหิมะ และจะหายไปตามธรรมชาติด้วยการระเหย การไหลออกสู่ทะเล และการซึมลงไปใต้ดิน

               น้ำผิวดินตามธรรมชาติสามารถเพิ่มพูนได้โดยการนำน้ำเข้ามาจากแหล่งในลุ่มน้ำอื่นด้วยการขุดคลองส่งน้ำหรือวางท่อส่งน้ำ หรืออาจทำด้วยวิธีอื่นๆ แต่ก็ได้ไม่มาก มนุษย์เรามีส่วนทำให้ระบบน้ำผิวดินไม่มั่นคงหรือ "หายไป" จากการสร้างมลพิษ

วัฎจักรน้ำ
***น้ำใต้ผิวดิน***
               หมายถึง น้ำจืดที่ขังอยู่ในช่องว่างของดินหรือหิน และยังหมายถึงน้ำที่ไหลอยู่ภายในชั้นหินอุ้มน้ำ หรือชั้นน้ำ (Aquifer) ซึ่งอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน (water table)
               น้ำใต้ผิวดินอาจคิดเชิงคำศัพท์ให้หมือนน้ำผิวดินก็ได้ นั่นคือ การรับเข้า (inputs) การปล่อยออก (outputs) และการเก็บกัก (storage) นัยสำคัญของความแตกต่างก็คือ ในแง่ของน้ำใต้ผิวดิน ที่เก็บกักมักมีขนาดใหญ่มากเมื่อเปรียบเทียบกับการรับเข้า ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำผิวดินที่มีขนาดเก็บกักเล็กแต่มีขนาดการรับเข้ามากกว่า ข้อแตกต่างนี้เองที่ทำให้มนุษย์สามารถใช้น้ำใต้ดินได้มากมาย (แบบไม่ยั่งยืน) ได้เป็นเวลานาน
ประเภทน้ำใต้ดิน
LaughingLaughingLaughingLaughing
สร้างโดย: 
นางสาว สุคนทิพย์ แก่นจันทร์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 370 คน กำลังออนไลน์