• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:dedcda681d7c6b701f1481e8457090de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff3366; font-size: medium\"><u><strong>ประเภทความผิดปกติของไทรอยด์</strong></u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9999; font-size: small\">ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์มี 3 แบบ คือ<br />\n     <span style=\"color: #ff0066\">1. ฮอร์โมนไทรอยด์เกิน</span><br />\n     <span style=\"color: #6666ff\">2. ฮอร์โมนไทรอยด์ขาด<br />\n</span>     <span style=\"color: #99cc00\">3. ฮอร์โมนไทรอยด์ปกติ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #ff0066\">1. ฮอร์โมนไทรอยด์เกิน</span></strong><br />\n         <span style=\"color: #cc99cc\"> ฮอร์โมนไทรอยด์เกิน คือ ภาวะที่ฮอร์โมนหลั่งออกมามากเกินความจำเป็น (ไฮเปอร์ฯ) สำหรับโรคไทรอยด์ที่เกิดจากฮอร์โมนไทรอยด์เกิน จะทำให้มีอาการ<br />\n               • หัวใจเต้นแรง <br />\n               • ใจสั่น <br />\n               • นอนไม่หลับ<br />\n               • น้ำหนักลด <br />\n               • ที่สำคัญอารมณ์แปรปรวนบ่อย<br />\n          <span style=\"color: #ff3366\">Hyperthyroid</span> คอพอกเป็นพิษ หมายถึงภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามากว่าปกติเป็นผลทำให้ร่างกายมีการเผาผลาญมากเกินไป</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99cc; font-size: small\"><span style=\"color: #ff0066\"><strong><u>สาเหตุ</u></strong></span><br />\n   <span style=\"color: #cc99cc\">• โรค Grave\'s disease เกิดภาวะที่มีภูมิไปกระตุ้นต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามาก ผู้ป่วยจะมีต่อมไทรอยด์โตทั้งต่อม <br />\n   • โรค Multinudular toxic goiter หมายถึงภาวะที่ก้อน [nodule] ในต่อมไทรอยด์ทำงานสร้างฮอร์โมนเพิ่มขึ้น อาจก้อนเดียว หรือหลายก้อน <br />\n   • Thyroiditis</span> ช่องแรกของต่อมไทรอยด์อักเสบจะมีอาการของคอพอกเป็นพิษ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong><u><span style=\"color: #ff0066\">อาการ<img height=\"193\" width=\"218\" src=\"http://www.thaiclinic.com/images/thyroid_neckmass.jpg\" align=\"right\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" /></span></u></strong><br />\n<span style=\"color: #cc99cc\">   • อารมณ์แปรปรวน<br />\n   • นอนไม่หลับ<br />\n   • กล้ามเนื้ออ่อนแรง<br />\n   • ตาโปน<br />\n   • มือสั่น<br />\n   • ใจสั่น เหนื่อยง่าย <br />\n   • คอพอก<br />\n   • ประจำเดือนผิดปกติ<br />\n   • ขี้ร้อน<br />\n   • น้ำหนักลดแม้ว่าจะรับประทานอาหารได้ดี</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong><u><span style=\"color: #ff0066\">การวินิจฉัย</span><br />\n</u></strong> <span style=\"color: #cc99cc\">  • เจาะเลือดพบว่า ค่า T3หรือ T4 สูง และค่า TSH ต่ำ <br />\n   • ทำไทรอยด์สแกน เพื่อดูว่าสภาพต่อมไทรอยด์โตทั้งต่อม หรือ มีก้อนในต่อมไทรอยด์ หรือเป็นต่อมไทรอยด์อักเสบ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong><u><span style=\"color: #ff0066\">การรักษา</span><br />\n</u></strong>      <span style=\"color: #cc99cc\">การรักษามีได้หลายวิธีแพทย์จะพิจารณาจาก อายุ สภาพของผู้ป่วย ชนิดของคอพอกเป็นพิษ ความรุนแรงของโรค การรักษามีได้ 3 วิธี คือ<br />\n      <img height=\"325\" width=\"300\" src=\"http://www.bkkmenu.com/healthy/images/mineral/main.jpg\" align=\"right\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" />   1. การรับประทานยาเพื่อลดการสร้างฮอร์โมน เช่น PTU, Methimazole <br />\n         2. การรับประทานน้ำแร่ <span style=\"color: #993366\">radioactive iodine </span>เมื่อผู้ป่วยรับประทานน้ำแร่เข้าไป ต่อมไทรอยด์ก็จะรับ iodine ที่มีรังสีเข้าไป รังสีนี้จะทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์ แพทย์จะคำนวณขนาดยาที่เหมาะสม หากได้มากเกินไปจะเกิดภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยจำเป็นต้องได้รับยา <span style=\"color: #993366\">thyroid hormone ไปตลอดชีวิต</span> แต่ถ้าหากได้รับน้ำแร่น้อยไปผู้ป่วยยังคงเกิดอาการของต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่รุนแรงน้อยลง แพทย์จะนัดให้ยาอีกครั้ง <br />\n         3. การผ่าตัด ปัจจุบันการผ่าตัดมีความนิยมลดลงไปมาก โดยเลือกใช้กับผู้ป่วยบางราย เช่น เด็ก วัยรุ่น หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหากับยาที่รักษา หรือผู้ที่มีต่อมโตมาก มีอาการทางตารุนแรง หรือมีก้อนในต่อม <br />\n         4. ยาอื่น beta blocker เช่น propanolol, atenolol, metoprolol เพื่อลดอาการของโรค</span></span>\n</p>\n', created = 1718614034, expire = 1718700434, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:dedcda681d7c6b701f1481e8457090de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไทรอยด์ (Thyroid)

ประเภทความผิดปกติของไทรอยด์

ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์มี 3 แบบ คือ
     1. ฮอร์โมนไทรอยด์เกิน
     2. ฮอร์โมนไทรอยด์ขาด
     3. ฮอร์โมนไทรอยด์ปกติ

1. ฮอร์โมนไทรอยด์เกิน
          ฮอร์โมนไทรอยด์เกิน คือ ภาวะที่ฮอร์โมนหลั่งออกมามากเกินความจำเป็น (ไฮเปอร์ฯ) สำหรับโรคไทรอยด์ที่เกิดจากฮอร์โมนไทรอยด์เกิน จะทำให้มีอาการ
               • หัวใจเต้นแรง
               • ใจสั่น
               • นอนไม่หลับ
               • น้ำหนักลด
               • ที่สำคัญอารมณ์แปรปรวนบ่อย
          Hyperthyroid คอพอกเป็นพิษ หมายถึงภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามากว่าปกติเป็นผลทำให้ร่างกายมีการเผาผลาญมากเกินไป

สาเหตุ
   • โรค Grave's disease เกิดภาวะที่มีภูมิไปกระตุ้นต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามาก ผู้ป่วยจะมีต่อมไทรอยด์โตทั้งต่อม 
   • โรค Multinudular toxic goiter หมายถึงภาวะที่ก้อน [nodule] ในต่อมไทรอยด์ทำงานสร้างฮอร์โมนเพิ่มขึ้น อาจก้อนเดียว หรือหลายก้อน 
   • Thyroiditis
ช่องแรกของต่อมไทรอยด์อักเสบจะมีอาการของคอพอกเป็นพิษ

อาการ
   • อารมณ์แปรปรวน
   • นอนไม่หลับ
   • กล้ามเนื้ออ่อนแรง
   • ตาโปน
   • มือสั่น
   • ใจสั่น เหนื่อยง่าย 
   • คอพอก
   • ประจำเดือนผิดปกติ
   • ขี้ร้อน
   • น้ำหนักลดแม้ว่าจะรับประทานอาหารได้ดี

การวินิจฉัย
   • เจาะเลือดพบว่า ค่า T3หรือ T4 สูง และค่า TSH ต่ำ
   • ทำไทรอยด์สแกน เพื่อดูว่าสภาพต่อมไทรอยด์โตทั้งต่อม หรือ มีก้อนในต่อมไทรอยด์ หรือเป็นต่อมไทรอยด์อักเสบ

การรักษา
      การรักษามีได้หลายวิธีแพทย์จะพิจารณาจาก อายุ สภาพของผู้ป่วย ชนิดของคอพอกเป็นพิษ ความรุนแรงของโรค การรักษามีได้ 3 วิธี คือ
         1. การรับประทานยาเพื่อลดการสร้างฮอร์โมน เช่น PTU, Methimazole
         2. การรับประทานน้ำแร่ radioactive iodine เมื่อผู้ป่วยรับประทานน้ำแร่เข้าไป ต่อมไทรอยด์ก็จะรับ iodine ที่มีรังสีเข้าไป รังสีนี้จะทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์ แพทย์จะคำนวณขนาดยาที่เหมาะสม หากได้มากเกินไปจะเกิดภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยจำเป็นต้องได้รับยา thyroid hormone ไปตลอดชีวิต แต่ถ้าหากได้รับน้ำแร่น้อยไปผู้ป่วยยังคงเกิดอาการของต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่รุนแรงน้อยลง แพทย์จะนัดให้ยาอีกครั้ง
         3. การผ่าตัด ปัจจุบันการผ่าตัดมีความนิยมลดลงไปมาก โดยเลือกใช้กับผู้ป่วยบางราย เช่น เด็ก วัยรุ่น หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหากับยาที่รักษา หรือผู้ที่มีต่อมโตมาก มีอาการทางตารุนแรง หรือมีก้อนในต่อม
         4. ยาอื่น beta blocker เช่น propanolol, atenolol, metoprolol เพื่อลดอาการของโรค

สร้างโดย: 
นางสาวอริสรา วรรณพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 561 คน กำลังออนไลน์