• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c30dae93421dd9e3b3caef57233f2513' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n            จริยธรรม (Ethics) มีคำจำกัดความของจริยธรรมอยู่หลายความหมาย เช่น &quot;หลักของสศีลธรรมในแต่ละวิชาชีพเฉพาะ&quot; &quot;มาตรฐานของการประพฤติปฎิบัติในวิชาชีพที่ได้รับ&quot; &quot;ข้อตกลงกันในหมู่ประชาชนในการกระทำที่ถุกและหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิด&quot; หรือสรุปได้ว่า  จริยธรรม หมายถึง หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฎิบัติ เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรเช่น \n</p>\n<p align=\"center\">\n   * การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย หรือก่อความรำคาญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต\n</p>\n<p align=\"center\">\n* การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล                                                                                                                              \n</p>\n<p align=\"center\">\n* การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต                                                                                            \n</p>\n<p align=\"center\">\n* การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์                                                                                                                                         \n</p>\n<p align=\"center\">\nในทางปฎิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้นกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนักทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nกรอบความคิดเรื่องจริยธรรม\n</p>\n<p align=\"center\">\nโดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะอักษรย่อ พีเอพีเอ (PAPA) ประกอบด้วย\n</p>\n<p align=\"center\">\n1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) คือ การเก็บรวบร่วม การเก็บรักษา และการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับปัจเจกบุคคล                \n</p>\n<p align=\"center\">\n2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) คือ ความถูกต้องแม่นยำของการเก็บรวบรวมและวิธีการปฎิบัติกับข้อมูลสารสนเทศ                            \n</p>\n<p align=\"center\">\n3. ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) คือ กรรมสิทธิ์และมูลค่าของข้อมูลสารสนเทศ                                                              \n</p>\n<p align=\"center\">\n4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accesibility) คือ สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้และการจ่ายค่าธรรมเนียมในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ              \n</p>\n', created = 1726516648, expire = 1726603048, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c30dae93421dd9e3b3caef57233f2513' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหมายของจริยธรรม

            จริยธรรม (Ethics) มีคำจำกัดความของจริยธรรมอยู่หลายความหมาย เช่น "หลักของสศีลธรรมในแต่ละวิชาชีพเฉพาะ" "มาตรฐานของการประพฤติปฎิบัติในวิชาชีพที่ได้รับ" "ข้อตกลงกันในหมู่ประชาชนในการกระทำที่ถุกและหลีกเลี่ยงการกระทำสิ่งที่ผิด" หรือสรุปได้ว่า  จริยธรรม หมายถึง หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฎิบัติ เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรเช่น 

   * การใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหาย หรือก่อความรำคาญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต

* การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล                                                                                                                              

* การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต                                                                                            

* การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์                                                                                                                                         

ในทางปฎิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้นกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนักทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย

 

กรอบความคิดเรื่องจริยธรรม

โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะอักษรย่อ พีเอพีเอ (PAPA) ประกอบด้วย

1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) คือ การเก็บรวบร่วม การเก็บรักษา และการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับปัจเจกบุคคล                

2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) คือ ความถูกต้องแม่นยำของการเก็บรวบรวมและวิธีการปฎิบัติกับข้อมูลสารสนเทศ                            

3. ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) คือ กรรมสิทธิ์และมูลค่าของข้อมูลสารสนเทศ                                                              

4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accesibility) คือ สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้และการจ่ายค่าธรรมเนียมในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ              

สร้างโดย: 
แพรพิไล เอียดชะตา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 451 คน กำลังออนไลน์