• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.119.112.152', 0, '573d395530d4782f729f2f978dc38890', 150, 1719513460) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1e2134c949e69cd34b2faf51d88ace03' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>                                                          <span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #ffff00\">    </span><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #ffff00\">สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้</span></span></b></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">      อาเซี่ยนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ.2504 โดยมี ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และไทยร่วมกันก่อตั้งขึ้น แต่ก็ต้องหยุดชะงักเนื่องมาจากความแปลผันทางการเมืองระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย จนกระทั่งมีการฟื้นฟูความสัมพันธ์ขึ้นมาใหม่โดยสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 ส.ค. พ.ศ.2510 โดยมีสมาชิกเริ่มต้นห้าประเทศได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย ปัจจุบันอาเซี่ยนมีสมาชิก 10ประเทศ โดยสมาชิกที่เพิ่มขึ้นมาคือ บรูไน พม่า ลาว เวียดนาม และกัมพูชา</span></b></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">      จุดประสงค์ของอาเซี่ยนนัันได้ก่อตั้งเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยประเทศในกลุ่มอาเซี่ยนจะลดภาษีขาเข้าพิเศษทางการค้า มีการทำสัญญาซื้อขายระยะยาวในสินค้าบางชนิด ให้สิทธิพิเศษระหว่างสินค้าบางชนิดระหว่างองค์กรของรัฐ ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่การซื้อขายสินค้าในอาเซี่ยนในอัตราดอกเบี้ยพิเศษ</span></b></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">                                                               <span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #00ff00\">องค์การการประชุมอิสลาม (OIC)</span></span></b></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 13px; font-family: Tahoma\"><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">        </span></b><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">Organization of the Islamic Conference </span></b><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">หรือ </span></b><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">OIC</span></b><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\"> เป็นองค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศอิสลาม ปัจจุบันมีสมาชิก 57 ประเทศ จากทุกภูมิภาคทั้ง เอเชีย ยุโรป แอฟริกา และอเมริกาใต้ จึงนับเป็นองค์กรระหว่างประเทศของโลกมุสลิมขนาดใหญ่ที่สุดและมีบทบาทความสำคัญมากที่สุด</span></b></span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">         OIC ก่อตั้งเมื่อปี 1971 ตามมติการประชุมของประเทศมุสลิมครั้งแรก 35 ชาติ ที่กรุงราบัตประเทศโมร็อกโค ปี1969   </span></b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 13px; font-family: Tahoma\"><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">การจัดตั้ง OIC มีกษัตริย์ Faisal แห่งซาอุดีอาระเบีย และกษัตริย์ Hassain แห่งโมร็อกโก เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการผลักดัน โดยมีเป้าหมายหลักในการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และการผนึกกำลังกันของประชาชาติมุสลิม (Islamic Ummah) ตามแนวทาง pan-Islamism และการพิทักษ์และส่งเสริมผลประโยชน์ของชาวมุสลิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลดปล่อยดินแดนของชาวอาหรับ/มุสลิมรวมทั้ง Al Quds Al Sharif (เยรูซาเล็ม) จากการยึดครองของอิสราเอล</span></b></span></div>\n<div><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #0000ff\">         ความร่วมมือที่สำคัญของ OIC ได้แก่ การให้ความร่วมมือทางด้านการศึกษาระหว่างมุสลิม ธุรกิจทางด้านการค้า ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม ความร่วมมือทางด้านเทคนิคและวิชาการ </span></b></div>\n<div>     </div>\n<div> </div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #ffff99\">                                                                       </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff00ff\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #ffff99\">    </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff00ff\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #ffff99\">  น.ส.นิศารัตน์ ไชยโย ม.5/4 เลขที่ 17</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff00ff\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #ffff99\"> </span></span></div>\n', created = 1719513472, expire = 1719599872, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1e2134c949e69cd34b2faf51d88ace03' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ องค์การการประชุมอิสลาม (OIC)

                                                              สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      อาเซี่ยนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ.2504 โดยมี ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และไทยร่วมกันก่อตั้งขึ้น แต่ก็ต้องหยุดชะงักเนื่องมาจากความแปลผันทางการเมืองระหว่างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย จนกระทั่งมีการฟื้นฟูความสัมพันธ์ขึ้นมาใหม่โดยสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 ส.ค. พ.ศ.2510 โดยมีสมาชิกเริ่มต้นห้าประเทศได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย ปัจจุบันอาเซี่ยนมีสมาชิก 10ประเทศ โดยสมาชิกที่เพิ่มขึ้นมาคือ บรูไน พม่า ลาว เวียดนาม และกัมพูชา
      จุดประสงค์ของอาเซี่ยนนัันได้ก่อตั้งเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยประเทศในกลุ่มอาเซี่ยนจะลดภาษีขาเข้าพิเศษทางการค้า มีการทำสัญญาซื้อขายระยะยาวในสินค้าบางชนิด ให้สิทธิพิเศษระหว่างสินค้าบางชนิดระหว่างองค์กรของรัฐ ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่การซื้อขายสินค้าในอาเซี่ยนในอัตราดอกเบี้ยพิเศษ
                                                               องค์การการประชุมอิสลาม (OIC)
        Organization of the Islamic Conference หรือ OIC เป็นองค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศอิสลาม ปัจจุบันมีสมาชิก 57 ประเทศ จากทุกภูมิภาคทั้ง เอเชีย ยุโรป แอฟริกา และอเมริกาใต้ จึงนับเป็นองค์กรระหว่างประเทศของโลกมุสลิมขนาดใหญ่ที่สุดและมีบทบาทความสำคัญมากที่สุด
         OIC ก่อตั้งเมื่อปี 1971 ตามมติการประชุมของประเทศมุสลิมครั้งแรก 35 ชาติ ที่กรุงราบัตประเทศโมร็อกโค ปี1969   การจัดตั้ง OIC มีกษัตริย์ Faisal แห่งซาอุดีอาระเบีย และกษัตริย์ Hassain แห่งโมร็อกโก เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการผลักดัน โดยมีเป้าหมายหลักในการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และการผนึกกำลังกันของประชาชาติมุสลิม (Islamic Ummah) ตามแนวทาง pan-Islamism และการพิทักษ์และส่งเสริมผลประโยชน์ของชาวมุสลิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลดปล่อยดินแดนของชาวอาหรับ/มุสลิมรวมทั้ง Al Quds Al Sharif (เยรูซาเล็ม) จากการยึดครองของอิสราเอล
         ความร่วมมือที่สำคัญของ OIC ได้แก่ การให้ความร่วมมือทางด้านการศึกษาระหว่างมุสลิม ธุรกิจทางด้านการค้า ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม ความร่วมมือทางด้านเทคนิคและวิชาการ 
    
 
                                                                             น.ส.นิศารัตน์ ไชยโย ม.5/4 เลขที่ 17 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 392 คน กำลังออนไลน์