• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:124adb3bffe02c6f1462493a2f5445f8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img src=\"/files/u31551/c_1.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" />\n</p>\n<p>\nก่อนการเขียนโปรแกรม ผู้พัฒนาโปรแกรมจะต้องเลือกภาษาคอมพิวเตร์ ที่จะนำมาใช้ช่วยงานโดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ในการทำงาน เช่น ลักษณะของปัญหา ความถนัดของนักเขียนดโปรแกรม สภาพแวดล้อมในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากในปัจจุบันมีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกได้หลายภาษา เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษาจาวา และภาษาเดลฟาย ภึงแม้แต่ละภาษาจะมีรูปแบบและหลักการในการสร้างงานที่แตกต่างกันแต่ทุกภาษาจะต้องมีโครงสร้างควบคุมหลักทั้ง 3 แบบ ได้แก่ โดครงสร้างแบบลำดับ (sequential structure) โครงสร้างแบบทางเลือก (selection structure) และโครงสร้างแบบวนซ้ำ(repetition structure)\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/c_2.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" />   (sequential structure)\n</p>\n<p>\nโปรแกรมที่ทำงานเป็นขั้นตอนเพื่อแก้ปัญหาจะทำงานตามคำสั่งที่เขียนไว้ตามลำดับ ตั้งแต่คำสั่งแรกไปจนถึงคำสั่งสุดท้าย โดยที่คำสั่งในที่นี้อาจเป็นคำสั่งเดี่ยวๆ หรือเป็นคำสั่งเชิงซ้อนทีมีหลายคำสั่งย่อยประกอบกันในลักษณะเป็นโครงสร้างแบบทางเลือกหรือแบบวนซ้ำก็ได้\n</p>\n<p>\nโครงสร้างแบบเรียงลำดับเมื่อเขียนเป็นผังงาน จะมีลักษณะดังเช่นรูปที่ 6.9 และมีกระบวนการทำงานพื้ฐานอยู่ 3 ชนิด ดังแสดงในรูปที่ 6.10 ได้แก่\n</p>\n<p>\n-การคำนวณ เป็นกระบวนการที่คอมพิเตอร์ทำการคำนวณ ประมวลผล ซึ่งจะรวมไปถึงการกำหนดค่าให้กับตัวแปร เพื่อให้สามารถนำค่าของตัวแปรนั้นมาใช้ในภายหลังได้\n</p>\n<p>\n- การรับข้อมูลเข้า เป็นกระบวนการรับข้อมูลจากอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เพื่อนำค่าไปกำหนดให้กับตัวแปร และเก็บไว้ในหน่วยความจำ\n</p>\n<p>\n- การส่งข้อมูลออก เป็นกระบวนการนำค่าของข้อมูลไปแสดงผลยังอุปกรณ์ของหน่วยส่งออก เช่น จอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ข้อมูลที่จะส่งออกโดยทั่งไปจะเป็นค่าคงที่ หรือค่าของตัวแปร\n</p>\n<p>\nในการดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ กระบวนการเหล่านี้ต้องถูกแปลงให้อย฿่รูปของคำสั่งหลายคำสั่งประกอบกันเพื่อให้ทำงานตามขั้นตอนที่ได้ออกแบบไว้ เช่น กรบวนการการคำนวณในการเพิ่มค่าของตัวแปร counter ขึ้นอีกหนึ่ง จะใช้คำสั่ง &quot; counter &lt; counter + 1  &quot; กระบวนการรับข้อมูลเข้าเพื่อเก็บไว้ในตัวแปร x จะใช้คำสั่ง  &quot; input x&quot; และกระบวนการส่งข้อมูลออกไปยังจอภาพเพื่อแสดงผลของตัวแปร average จะใช้คำสั่ง &quot;print avereage&quot; เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_202_____________.jpg\" width=\"292\" height=\"343\" /> <img src=\"/files/u31551/202_________.jpg\" width=\"424\" height=\"273\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<img src=\"/files/u31551/c_3.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" />  (selection structure)\n</p>\n<p>\nปัญหาบางอย่างต้องการการตัดสินใจ เพื่อเลือกว่าจะใช้วิธีการใด โดยต้องมีการตรวจสอบว่าเงื่อนไขที่ใช้ในการตัดสินใจว่าเป็นจริงหรือเท็จ ถ้าเป็นจริงจะไปเลือกทำคำสั่งชุดหนึ่ง แต่ถ้าเป็นเท็จจะไปเลือกทำคำสั่งอีกชุดหนึ่ง ซึ่งชุดคำสั่งเหล่านี้จะประกอบด้วยโดตรงสร้างแบบลำดับนั่นเอง รูปที่ 6.11 แสดงผังงานของโครงสร้างแบบทางเลือก และรูปที่ 6.12 แสดงตัวอย่างของขั้นตอนวิธีที่ต้องมีการเลือกตัดสินใจในการเลือกพิมพ์ค่ามรามากกว่าออกมา\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_203_____________.jpg\" width=\"340\" height=\"289\" />      <img src=\"/files/u31551/_203__________.jpg\" width=\"304\" height=\"253\" />  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nโครงสร้างการทำงานแบบทางเลือกที่กล่าวมาแล้ว อาจเรียกว่ามีโครงสร้างของการทำงานแบบ if...then...else...  ซึ่งเป็นการเลือกทำแบบทางใดทางหนึ่ง เนื่องจากต้องมีการเลือกทำชุดคำสั่งใดชุดคำสั่งหนึ่งตามผลของเงื่อนไข แต่ในการเขียนโปรแกรมหรือผังงานเพื่อแก้ปัญหา นักเขียนโปรแกรมอาจไม่ต้องการทำงานใดๆ เมื่อผลของเงื่อนไขเป็นเท็จก็ได้ โดยผังงานจะมีลักษณะดังรูปที่ 6.13 ซึ่งเรียกว่ามีโครงสร้างของการทำงานแบบเลือกทำเพียงทางเดียว หรือ แบบ if..then...\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_204_.jpg\" width=\"304\" height=\"253\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/c_4_0.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" />  (repetition structure)\n</p>\n<p>\nในการแก้ปัญหาบางอย่างอาจต้องมีการทำงานในบางคำสั่งหรือชุดของคำสั่งซ้ำกันมากกว่าหนึ่งรอบขึ้นไป โครงสร้างแบบมีการวนซ้ำนี้ต้องมีการตัดสินใจร่วมอยู่ด้วยเสมอ เพื่อเป็นเงื่อนไขที่ตัดสินใจว่าเมื่อใดจะวนซ้ำ หรือเมื่อไรจะถึงเวลาหยุดวนซ้ำโดยทั่วไปผังงานของการวนว้ำจะมีลักษณะดังรูปที่ 6.14 หรือรูปที่ 6.15 โดยมีความแตกต่างกันตือ ในรูปที่  6.14 เป็นการวนซ้ำแบบที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขที่จะใช้วนซ้ำก่อนที่จะทำงานในชุดคำสั่งในโครงสร้างแบบวนซ้ำ เรียกว่า การวนซ้ำแบบ while ซึ่งจะสังเกตได้ว่าถ้าเงื่อนไขไม่เป็นจริงตั้งแต่แรก คำสั่งแบบโครงสร้างในการวนซ้ำจะไม่ถูกเรียกให้ทำงานเลยแต่สำหรับ 6.15 เป็นการวนซ้ำแบบมีการตรวจสอบเงื่อนไขที่จะให้วนซ้ำหลังจากที่ได้ทำงานตามชุดคำสั่ง ในโครงสร้างแบบวนซ้ำไปรอบหนึ่งแล้วเรียกว่า การวนว้ำแบบ until สำหรับตัวอย่างของการวนซ้ำ เช่น การรับค่าตัวเลขเข้ามาหลายค่า ในโครงสร้าเพื่อคำนวนหาผลรวม ในตัวอย่างที่ 6.7 ถือเป็นการวนซ้ำแบบ until\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_205____________.jpg\" width=\"246\" height=\"433\" />        <img src=\"/files/u31551/_205_________.jpg\" width=\"200\" height=\"400\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nสิ่งที่ควรระวังในการใช้งานขั้นตอนวิธีแบบมีการวนซ้ำคือ ต้องตรวจสอบว่าได้กำหนดเงื่อนไขอย่างรัดกุมและถูกต้อง มิเช่นนั้นแล้วอาจเกิดกรณีแบบวนซ้ำไม่รู้จบ (infinte loop) หรือกรณีที่วนซ้ำไม่ไ้ด้ตามจำนวนรอบที่ต้องการ\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<img src=\"/files/u31551/206_________.jpg\" width=\"101\" height=\"78\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_206____________.jpg\" width=\"303\" height=\"169\" />     <img src=\"/files/u31551/_206_____________.jpg\" width=\"200\" height=\"505\" />\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\nตัวอย่างที่ 6.8และ 6.9 จะแสดงวิธีการแก้ปัญหาด้วยโครงสร้างการโปรแกรม โดยแสดงแนวคิดวิธีการแก้ปัญหาทั้งในรูปของรหัสลำลองและผังาน\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/c_5_0.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" />\n</p>\n<p>\nให้แสดงการวิเคราะและกำหนดรายละเอียดของปัยหา พร้อมทั้งเขียนรหัสลำลองและผังงานเพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีการเล่นเกมทายตัวเลข โดยให้ผู้เล่นคนหนึ่งเป็นผู้กำหนดตัวเลขแล้วให้ผู้ทายทายตัวเลขได้ครั้งหนึ่ง โปรแกรมจะตรวจคำตอบ และแสดงผลลัพธ์ว่าทายถูกหรือผิด\n</p>\n<p>\nองค์ประกอบหรือขั้นตอนการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหาสามารถแสดงได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_207_______.jpg\" width=\"600\" height=\"152\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<img src=\"/files/u31551/_207_____________.jpg\" width=\"303\" height=\"303\" />     <img src=\"/files/u31551/_207__________.jpg\" width=\"303\" height=\"383\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/c_6.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" />\n</p>\n<p>\nเกมทายตัวเลขในตัวอย่างที่ 6.8 ยอมให้ผู้เล่นทำการทายได้เพียงครั้งเดียว ให้นักเรียนเขียนรหัสลำลองและผังงาน เพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีในการเล่นเกมทายตัวเลขที่ได้รับการปรับปรุง โดยโปรแกรมจะตรวจสอบตัวเลขที่ทายว่า มีค่าสูงหรือต่ำกว่าค่าที่กำหนดแล้วให้โอกาสผู้เล่นทายใหม่จนกว่าจะถูก \n</p>\n<p>\nองค์ประกอบของขั้นตอนการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหาแสดงได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/208_______.jpg\" width=\"600\" height=\"200\" />\n</p>\n<p>\nจากรายละเอียดของปัญหา สามารถเขียนเป็นขั้นตอนของรหัสลำลองได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_208_____________.jpg\" width=\"404\" height=\"303\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_209.jpg\" width=\"292\" height=\"600\" />\n</p>\n<p>\nในการออกแบบขั้นตอนการทำงานเพื่อให้สามารถถวนรอบให้ผู้ทายทำการทานได้ หลายครั้งจนกว่าจะถูกนั้น จะพบว่าเป็นการใช้การวนซ้ำแบบ while ที่มีการตรวจสอบการวนรอบในส่วนต้นก่อนการทำงานภายในของการวนรอบ โดยทั่วไปเราสามารถดัดแปลงแก้ขั้นตอนวิธีที่ใช้การวนซ้ำแบบ while  เพียงเล็กน้อยเพื่อให้ใช้การวนซ้ำแบบ until ที่มีการตรวจสอบการวนรอบเมื่อจบการทำงานภายในของการวนรอบ\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<img src=\"/files/u31551/c_7.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" />\n</p>\n<p>\nรหัสลำลองและผังงานที่ทำงานเช่นเดียวกับตัวอย่างที่ 6.9  ซึ่งใช้การวนซ้ำแบบ until\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31551/_210__________.jpg\" width=\"292\" height=\"600\" />         <img src=\"/files/u31551/_2100_____________.jpg\" width=\"300\" height=\"350\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/90724\"><img src=\"/files/u31551/888.jpg\" width=\"150\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n', created = 1725756048, expire = 1725842448, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:124adb3bffe02c6f1462493a2f5445f8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5d4ca1e271f320c3f34e8add652818f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img src=\"/files/u31551/c_1.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" />\n</p>\n<p>\nก่อนการเขียนโปรแกรม ผู้พัฒนาโปรแกรมจะต้องเลือกภาษาคอมพิวเตร์ ที่จะนำมาใช้ช่วยงานโดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ในการทำงาน เช่น ลักษณะของปัญหา ความถนัดของนักเขียนดโปรแกรม สภาพแวดล้อมในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากในปัจจุบันมีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกได้หลายภาษา เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษาจาวา และภาษาเดลฟาย ภึงแม้แต่ละภาษาจะมีรูปแบบและหลักการในการสร้างงานที่แตกต่างกันแต่ทุกภาษาจะต้องมีโครงสร้างควบคุมหลักทั้ง 3 แบบ ได้แก่ โดครงสร้างแบบลำดับ (sequential structure) โครงสร้างแบบทางเลือก (selection structure) และโครงสร้างแบบวนซ้ำ(repetition structure)\n</p>\n', created = 1725756048, expire = 1725842448, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5d4ca1e271f320c3f34e8add652818f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างโปรแกรม

ก่อนการเขียนโปรแกรม ผู้พัฒนาโปรแกรมจะต้องเลือกภาษาคอมพิวเตร์ ที่จะนำมาใช้ช่วยงานโดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ในการทำงาน เช่น ลักษณะของปัญหา ความถนัดของนักเขียนดโปรแกรม สภาพแวดล้อมในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากในปัจจุบันมีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกได้หลายภาษา เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษาจาวา และภาษาเดลฟาย ภึงแม้แต่ละภาษาจะมีรูปแบบและหลักการในการสร้างงานที่แตกต่างกันแต่ทุกภาษาจะต้องมีโครงสร้างควบคุมหลักทั้ง 3 แบบ ได้แก่ โดครงสร้างแบบลำดับ (sequential structure) โครงสร้างแบบทางเลือก (selection structure) และโครงสร้างแบบวนซ้ำ(repetition structure)

สร้างโดย: 
คุณครูโยธิน พิภพเรืองรอง และ นางสาวปิยมาศ ลุ่มเพชรมงคล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 525 คน กำลังออนไลน์