• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:523d9663e7c0fe28c0804d095993a4de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p></p>\n<div align=\"center\">\n         \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u48329/gggggdddd.gif\" width=\"376\" height=\"213\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n  <span style=\"color: #800080\"> แม้จะมีการเล่านิทานเวตาลสู่กันฟังมาไม่ต่ำกว่าพันปี ทั้งโดยปากต่อปากและลายลักษณ์อักษร <br />\nแต่มันกลับมีชีวิตชีวาอยู่ในความรู้สึกนึกคิดของผู้คนอยู่เสมอ โดยเฉพาะตัวเวตาลผู้มีบุคลิกโดเด่นด้านความเจ้าเล่ห์แสนกล <br />\nและช่างพูดข่างเจรจา&quot;เวตาล น่าจะเป็นปีศาจจำนวนไม่กี่ตนในโลกนี้ที่ผู้คนเกลียดและกลัวไม่ลง<br />\nในแวดวงวรรณกรรม เรื่องปรัมปราเรื่องนี้ กลายเป็นตัวอย่างอ้างอิงของวิชาการวรรณกรรมสมัย<br />\nใหม่แทบทุกครั้งที่มีการกล่าวถึงงานเขียนแบบเรื่องซ้อนเรื่อง หรือ Metafiction<br />\nงานเขียนแบบ Metafiction ตลอดจนทฤษฏีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ เป็นผลจากการที่นักวรรณกรรมตะวันตก<br />\nเบื่อหน่ายกับวรรณกรรมสัจนิยมเหมือนจริง ที่ครอบงำวัฒนธรรมวรรณกรรมตะวันตกมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ <br />\nการค้นพบทฤษฎีเรื่องซ้นเรื่องเมื่อช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ จึงเป็นปรากฏการณ์ที่น่าตื่นเต้นดีใจเป็นอย่างยิ่งสำหรับนักเขียนสมัยใหม่\n<p>            สำหรับโลกตะวันออก รูปแบบเรื่องซ้อนเรื่องมีมานานตั้งแต่ผู้คนเร่ิมรู้จักการสื่อสารกันด้วย &quot;เรื่องเล่า&quot; ก็ว่าได้ <br />\nเรื่องรูปแบบนี้เป็นผลผลิตของการสื่อสารแบบมุขปาฐะ จากนิยาย นิทานเรื่องเดี่ยว แก่นเดียว ก็แต่กแยกย่อยออกไปเป็นหลาย ๆ เรื่อง <br />\nแล้วแต่จะแพร่กระจายออกไปกว้างขวางเพียงไหน โดยที่&quot;แก่นเรื่อง&quot; จะคงเดิม เปลี่ยนไปก็แต่องค์ประกอบแวดล้อม เช่น<br />\n ชื่อตัวละคร ฉาก เหตุการณ์ สัญลักษณ์ เท่านั้น ในเชิงวิชาการ เรื่องซ้อนเรื่องจึงถือเป็นพัฒนาขั้นสูงที่สุดของนิทานชาวบ้าน</p>\n<p>            วรรณคดีอินเดียโบราณ ทั้งที่เขียนโดยภาษาบาลีและสันสกฤต ปรากฎรูปแบบการเขียนชนิดเรื่องซ้อนเรื่องอยู่จำนวนมาก <br />\nเรื่องเอกส่วนใหญ่คือคัมภีร์ศาสนาหรืออรรถกถาธรรม อันมีแก่นแกนว่าด้วยความดี ความงาม ความจริง  การหลุดพ้น <br />\nถึงขั้น &quot;สัจจะ&quot; ที่ไม่อาจมีอะไรมาสั่นคลอนได้ นิทานย่อย ๆ จำนวนมากที่เกิดขึ้นภายใต้เรื่องเอกเหล่านี้ <br />\nจึงมีส่วนเสริมให้แก่นของเรื่องเอกคมชัดกาวววาวและหนักแน่นน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น</p>\n<p>            ในระดับของการเล่าเรื่อง นิทานที่ซ้อนเข้าไปในโครงเรื่องใหญ่จะทำให้เรื่องในโครงเรื่องใหญ่เข้าใจง่ายขึ้น <br />\nผู้แต่งจะใช้กลวิธีให้ตัวละครในเรื่องใหญ่เป็นผู้เล่าเรื่อง มีการผูกปมปริศนา ตั้งปัญหา สุดท้ายจะเฉลยปัญหา และชี้ทางเลือก<br />\nน่าอัศจรรย์ที่นิทานเวตาลเป็นได้ทั้งรากเหง้า และพัฒนาการขั้นสูงสุดของเรื่องเล่าแนวนี้</p>\n<p>            นักอ่านชาวไทยคุ้นเคยกับนิทานเวตาลของ น.ม.ส. เป็นอย่างดี แม้ว่าจะทรงแปลไว้เพียง ๑๐ เรื่อง<br />\n จากต้นฉบับ ๒๕ เรื่อง สาระบันเทิงจากนิทานเวตาลฉบับนี้อาจเห็นได้จากการที่มีผู้จัดรายการโทรทัศน์ <br />\nนำไปสร้างเป็นละครจนได้รับความสนใจเป็นอย่างมากเมื่อหลายปีก่อน</p>\n<p>            เวตาลปัญจวิงศติ โดย อาจารย์ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา เล่มนี้ กล่าวได้ว่าเป็นนิทานเวตาลฉบับสมบูรณ์ของบรรณพิภพไทย <br />\nเพราะท่านแปลจากต้นฉบับดั้งเดิมที่พิมพ์ด้วยอักษรเทวนาครี ครบทั้ง ๒๕ เรื่อง</p>\n<p>            ด้วยเหตุนี้ นอกจากความบันเทิงแล้ว สิ่งที่นิทานเวตาลฉบับสมบูรณ์จะให้แก่ผู้อ่าน จึงลึกไปถึงโลกทัศน์และชีวทัศน์อินเดียดั้งเดิม <br />\nนับเป็นหนทางย้อนกลับสู่การศึกษา &quot;รากเหง้าแห่งวิถีตะวันออก&quot; ได้เป็นอย่างดี </p></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u48329/619387iptszvvay0.gif\" width=\"531\" height=\"20\" /> \n</div>\n', created = 1715857357, expire = 1715943757, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:523d9663e7c0fe28c0804d095993a4de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำนำ

         
 
   แม้จะมีการเล่านิทานเวตาลสู่กันฟังมาไม่ต่ำกว่าพันปี ทั้งโดยปากต่อปากและลายลักษณ์อักษร
แต่มันกลับมีชีวิตชีวาอยู่ในความรู้สึกนึกคิดของผู้คนอยู่เสมอ โดยเฉพาะตัวเวตาลผู้มีบุคลิกโดเด่นด้านความเจ้าเล่ห์แสนกล
และช่างพูดข่างเจรจา"เวตาล น่าจะเป็นปีศาจจำนวนไม่กี่ตนในโลกนี้ที่ผู้คนเกลียดและกลัวไม่ลง
ในแวดวงวรรณกรรม เรื่องปรัมปราเรื่องนี้ กลายเป็นตัวอย่างอ้างอิงของวิชาการวรรณกรรมสมัย
ใหม่แทบทุกครั้งที่มีการกล่าวถึงงานเขียนแบบเรื่องซ้อนเรื่อง หรือ Metafiction
งานเขียนแบบ Metafiction ตลอดจนทฤษฏีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ เป็นผลจากการที่นักวรรณกรรมตะวันตก
เบื่อหน่ายกับวรรณกรรมสัจนิยมเหมือนจริง ที่ครอบงำวัฒนธรรมวรรณกรรมตะวันตกมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๑๘
การค้นพบทฤษฎีเรื่องซ้นเรื่องเมื่อช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ จึงเป็นปรากฏการณ์ที่น่าตื่นเต้นดีใจเป็นอย่างยิ่งสำหรับนักเขียนสมัยใหม่

            สำหรับโลกตะวันออก รูปแบบเรื่องซ้อนเรื่องมีมานานตั้งแต่ผู้คนเร่ิมรู้จักการสื่อสารกันด้วย "เรื่องเล่า" ก็ว่าได้
เรื่องรูปแบบนี้เป็นผลผลิตของการสื่อสารแบบมุขปาฐะ จากนิยาย นิทานเรื่องเดี่ยว แก่นเดียว ก็แต่กแยกย่อยออกไปเป็นหลาย ๆ เรื่อง
แล้วแต่จะแพร่กระจายออกไปกว้างขวางเพียงไหน โดยที่"แก่นเรื่อง" จะคงเดิม เปลี่ยนไปก็แต่องค์ประกอบแวดล้อม เช่น
 ชื่อตัวละคร ฉาก เหตุการณ์ สัญลักษณ์ เท่านั้น ในเชิงวิชาการ เรื่องซ้อนเรื่องจึงถือเป็นพัฒนาขั้นสูงที่สุดของนิทานชาวบ้าน

            วรรณคดีอินเดียโบราณ ทั้งที่เขียนโดยภาษาบาลีและสันสกฤต ปรากฎรูปแบบการเขียนชนิดเรื่องซ้อนเรื่องอยู่จำนวนมาก
เรื่องเอกส่วนใหญ่คือคัมภีร์ศาสนาหรืออรรถกถาธรรม อันมีแก่นแกนว่าด้วยความดี ความงาม ความจริง  การหลุดพ้น
ถึงขั้น "สัจจะ" ที่ไม่อาจมีอะไรมาสั่นคลอนได้ นิทานย่อย ๆ จำนวนมากที่เกิดขึ้นภายใต้เรื่องเอกเหล่านี้
จึงมีส่วนเสริมให้แก่นของเรื่องเอกคมชัดกาวววาวและหนักแน่นน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น

            ในระดับของการเล่าเรื่อง นิทานที่ซ้อนเข้าไปในโครงเรื่องใหญ่จะทำให้เรื่องในโครงเรื่องใหญ่เข้าใจง่ายขึ้น
ผู้แต่งจะใช้กลวิธีให้ตัวละครในเรื่องใหญ่เป็นผู้เล่าเรื่อง มีการผูกปมปริศนา ตั้งปัญหา สุดท้ายจะเฉลยปัญหา และชี้ทางเลือก
น่าอัศจรรย์ที่นิทานเวตาลเป็นได้ทั้งรากเหง้า และพัฒนาการขั้นสูงสุดของเรื่องเล่าแนวนี้

            นักอ่านชาวไทยคุ้นเคยกับนิทานเวตาลของ น.ม.ส. เป็นอย่างดี แม้ว่าจะทรงแปลไว้เพียง ๑๐ เรื่อง
 จากต้นฉบับ ๒๕ เรื่อง สาระบันเทิงจากนิทานเวตาลฉบับนี้อาจเห็นได้จากการที่มีผู้จัดรายการโทรทัศน์
นำไปสร้างเป็นละครจนได้รับความสนใจเป็นอย่างมากเมื่อหลายปีก่อน

            เวตาลปัญจวิงศติ โดย อาจารย์ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา เล่มนี้ กล่าวได้ว่าเป็นนิทานเวตาลฉบับสมบูรณ์ของบรรณพิภพไทย
เพราะท่านแปลจากต้นฉบับดั้งเดิมที่พิมพ์ด้วยอักษรเทวนาครี ครบทั้ง ๒๕ เรื่อง

            ด้วยเหตุนี้ นอกจากความบันเทิงแล้ว สิ่งที่นิทานเวตาลฉบับสมบูรณ์จะให้แก่ผู้อ่าน จึงลึกไปถึงโลกทัศน์และชีวทัศน์อินเดียดั้งเดิม
นับเป็นหนทางย้อนกลับสู่การศึกษา "รากเหง้าแห่งวิถีตะวันออก" ได้เป็นอย่างดี

 
สร้างโดย: 
kuntprem

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 279 คน กำลังออนไลน์