• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:acaecf477d14f694f54da8fa384f7f46' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><blockquote><p align=\"center\">\n <strong><span style=\"color: #800000\">&quot; <u>หนองหาร ท้าวผาแดง นางไอ่ จังหวัดสกลนคร</u> &quot;</span></strong>\n </p>\n<p> <strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong></p>\n<p>\n <br />\n <span style=\"color: #800000\">                  เรื่องท้าวผาแดงกับนางไอ่  เป็นตำนานที่ผูกพันกับสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งในจังหวัดสกลนคร ได้แก่ ทะเลสาบหนองหาร ซึ่งเป็นหนองน้ำใหญ่สุดลูกหูลูกตา<br />\n                   ตามตำนานเล่าว่าเดิมบริเวณที่หนองหารนั้น เคยเป็นเมืองใหญ่ชื่อว่า เอกชะทีตา มีพระยาขอมองค์หนึ่งปกครองอยู่ พระยาขอมมีมเหสีนามว่านางจันทร์เทียม มีธิดาซึ่งมีรูปโฉมงดงามชื่อ นางไอ่คำ หรือบางทีก็เรียกว่า นางไอ่ เมื่อนางไอ่มีอายุได้ 15 ปี ความงามของนางเป็นที่เลื่องลือ พระยาขอมได้สร้างปราสาทให้นางอยู่ มีสนมกำนัลแวดล้อมรับใช้ใกล้ชิด  ความงามของนางไอ่เลื่องลือไปถึงกษัตริย์แห่งเมืองผาโพงมีนามว่า ท้าวผาแดง ท้าวผาแดงจึงเสด็จมายังเมืองเอกชะทีตาและหาทางพบนางไอ่โดยการตีสนิทกับพี่เลี้ยงของนางจนนางยอมเป็นแม่สื่อให้  ท้าวผาแดงได้ฝากผ้าผืนหนึ่งให้พี่เลี้ยงนำไปมอบให้นางไอ่  พี่เลี้ยงก็นำไปมอบให้พร้อมทั้งสรรเสริญท้าวผาแดงต่างๆ จนนางไอ่เกิดความพอใจท้าวผาแดง  และมอบผ้าสไบของนางไอ่ให้เป็นการตอบแทน  และในที่สุด  ด้วยความช่วยเหลือของพี่เลี้ยงคนสนิท  ท้าวผาแดงกับนางไอ่ก็ได้ลอบพบกันในปราสาทของนางไอ่นั่นเอง<br />\n ต่อมา  ท้าวผาแดงได้ลานางไอ่เพื่อกลับไปยังเมืองผาโพง โดยสัญญาว่าจะรีบกลับมาสู่ขอตามประเพณีโดยเร็ว<br />\n ทางฝ่ายพระยาขอม บิดาของนางไอ่ เห็นว่าธิดาเจริญวัยควรมีคู่ครองได้แล้ว จึงให้อำมาตย์ป่าวประกาศไปยังนครใกล้เคียงว่า ผู้ใดปรารถนาได้นางไอ่ไปเป็นคู่ ให้ทำบ้องไฟมาประกวดกัน ใครสามารถจุดบ้องไฟให้ขึ้นไปสูงที่สุดจะได้นางไอ่เป็นคู่ครอง บรรดาเจ้าครองนครต่างก็นำบ้องไฟมาประกวดกันมากมายหวังจะได้นางไอ่ไปเป็นคู่ รวมทั้งท้าวผาแดงก็นำบ้องไฟมาประกวดด้วย  ผลการประกวดบ้องไฟปรากฏว่า พระยาขอมอีกเมืองหนึ่งจุดบ้องไฟได้สูงที่สุด ส่วนท้าวผาแดงนั้นบ้องไฟระเบิดเสียก่อนที่จะยิงขึ้นฟ้า จึงพ่ายแพ้ไป  ในการประกวดบ้องไฟครั้งนั้น บุตรชายของพญานาคชื่อ สุวรรณภังคีได้แอบมาดูโดยแปลงร่างเป็นกระรอกเผือก มีแหวนศักดิ์สิทธิ์ห้อยไว้ที่คอระหว่างการแข่งขัน  นางไอ่คำเหลือบเห็นกระรอกเผือกเข้าก็คิดอยากได้แหวนที่ห้อยคอจึงทูลพระยาขอม  พระยาขอมจึงให้ทหารไล่จับกระรอกแต่กระรอกก็วิ่งหลบหลีกไม่มีใครจับได้ ทหารจึงใช้ธนูยิงไปถูกกระรอกตาย  เมื่อกระรอกเผือกตายลงปรากฏว่าร่างกายของกระรอกนั้นกลับใหญ่โตขึ้นเป็นอันมาก  ชาวเมืองเห็นกระรอกตัวใหญ่ก็พากันมาแล่เนื้อเอาไปทำอาหารกินกันทั่วทั้งเมือง  ข่าวการตายของสุวรรณภังคีรู้ถึงพญานาคผู้เป็นบิดาก็มีความโกรธแค้นยิ่งนัก จึงพาบริวารขึ้นจากเมืองบาดาลอาละวาดจนเมืองเอาชะทีตาถล่มทลายกลายเป็นทะเลสาบกว้างใหญ่ คือ ทะเลสาบหนองหาร ในปัจจุบัน ผู้คนในเมืองที่กินเนื้อกระรอกต่างล้มตายหมดสิ้น  ส่วนนางไอ่นั้นได้แหวนวิเศษของสุวรรณภังคีไว้จึงรอดชีวิตจากฤทธิ์พญานาค ท้าวผาแดงพานางไอ่ขึ้นมาหลังม้าหนีมุ่งหน้าไปเมืองผาโพง  ระหว่างทางแผ่นดินก็ถล่มลงเรื่อยๆ จนนางไอ่พลัดตกลงจากหลังม้า  และเสียชีวิตโดยท้าวผาแดงมาช่วยไว้ไม่ทัน  ท้าวผาแดงจึงต้องเดินทางกลับไปเมืองผาโพงตามลำพัง<br />\n ดังนั้น งานเซิ้งบั้งไฟเป็นงานสนุกสนานงานหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงเป็นงานที่เกี่ยวเนื่องมาจากการจุดบ้องไฟเพื่อช่วงชิง นางไอ่ไปเป็นคู่ครอง และต่อมาได้มีการปฏิบัติกันเป็นประเพณีประจำปี และรักษากันไว้จนทุกวันนี้</span>\n </p>\n<p> \n</p></blockquote>\n', created = 1715899025, expire = 1715985425, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:acaecf477d14f694f54da8fa384f7f46' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หนองหาร ท้าวผาแดง นางไอ่ จังหวัดสกลนคร

" หนองหาร ท้าวผาแดง นางไอ่ จังหวัดสกลนคร "


                  เรื่องท้าวผาแดงกับนางไอ่  เป็นตำนานที่ผูกพันกับสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งในจังหวัดสกลนคร ได้แก่ ทะเลสาบหนองหาร ซึ่งเป็นหนองน้ำใหญ่สุดลูกหูลูกตา
                  ตามตำนานเล่าว่าเดิมบริเวณที่หนองหารนั้น เคยเป็นเมืองใหญ่ชื่อว่า เอกชะทีตา มีพระยาขอมองค์หนึ่งปกครองอยู่ พระยาขอมมีมเหสีนามว่านางจันทร์เทียม มีธิดาซึ่งมีรูปโฉมงดงามชื่อ นางไอ่คำ หรือบางทีก็เรียกว่า นางไอ่ เมื่อนางไอ่มีอายุได้ 15 ปี ความงามของนางเป็นที่เลื่องลือ พระยาขอมได้สร้างปราสาทให้นางอยู่ มีสนมกำนัลแวดล้อมรับใช้ใกล้ชิด  ความงามของนางไอ่เลื่องลือไปถึงกษัตริย์แห่งเมืองผาโพงมีนามว่า ท้าวผาแดง ท้าวผาแดงจึงเสด็จมายังเมืองเอกชะทีตาและหาทางพบนางไอ่โดยการตีสนิทกับพี่เลี้ยงของนางจนนางยอมเป็นแม่สื่อให้  ท้าวผาแดงได้ฝากผ้าผืนหนึ่งให้พี่เลี้ยงนำไปมอบให้นางไอ่  พี่เลี้ยงก็นำไปมอบให้พร้อมทั้งสรรเสริญท้าวผาแดงต่างๆ จนนางไอ่เกิดความพอใจท้าวผาแดง  และมอบผ้าสไบของนางไอ่ให้เป็นการตอบแทน  และในที่สุด  ด้วยความช่วยเหลือของพี่เลี้ยงคนสนิท  ท้าวผาแดงกับนางไอ่ก็ได้ลอบพบกันในปราสาทของนางไอ่นั่นเอง
ต่อมา  ท้าวผาแดงได้ลานางไอ่เพื่อกลับไปยังเมืองผาโพง โดยสัญญาว่าจะรีบกลับมาสู่ขอตามประเพณีโดยเร็ว
ทางฝ่ายพระยาขอม บิดาของนางไอ่ เห็นว่าธิดาเจริญวัยควรมีคู่ครองได้แล้ว จึงให้อำมาตย์ป่าวประกาศไปยังนครใกล้เคียงว่า ผู้ใดปรารถนาได้นางไอ่ไปเป็นคู่ ให้ทำบ้องไฟมาประกวดกัน ใครสามารถจุดบ้องไฟให้ขึ้นไปสูงที่สุดจะได้นางไอ่เป็นคู่ครอง บรรดาเจ้าครองนครต่างก็นำบ้องไฟมาประกวดกันมากมายหวังจะได้นางไอ่ไปเป็นคู่ รวมทั้งท้าวผาแดงก็นำบ้องไฟมาประกวดด้วย  ผลการประกวดบ้องไฟปรากฏว่า พระยาขอมอีกเมืองหนึ่งจุดบ้องไฟได้สูงที่สุด ส่วนท้าวผาแดงนั้นบ้องไฟระเบิดเสียก่อนที่จะยิงขึ้นฟ้า จึงพ่ายแพ้ไป  ในการประกวดบ้องไฟครั้งนั้น บุตรชายของพญานาคชื่อ สุวรรณภังคีได้แอบมาดูโดยแปลงร่างเป็นกระรอกเผือก มีแหวนศักดิ์สิทธิ์ห้อยไว้ที่คอระหว่างการแข่งขัน  นางไอ่คำเหลือบเห็นกระรอกเผือกเข้าก็คิดอยากได้แหวนที่ห้อยคอจึงทูลพระยาขอม  พระยาขอมจึงให้ทหารไล่จับกระรอกแต่กระรอกก็วิ่งหลบหลีกไม่มีใครจับได้ ทหารจึงใช้ธนูยิงไปถูกกระรอกตาย  เมื่อกระรอกเผือกตายลงปรากฏว่าร่างกายของกระรอกนั้นกลับใหญ่โตขึ้นเป็นอันมาก  ชาวเมืองเห็นกระรอกตัวใหญ่ก็พากันมาแล่เนื้อเอาไปทำอาหารกินกันทั่วทั้งเมือง  ข่าวการตายของสุวรรณภังคีรู้ถึงพญานาคผู้เป็นบิดาก็มีความโกรธแค้นยิ่งนัก จึงพาบริวารขึ้นจากเมืองบาดาลอาละวาดจนเมืองเอาชะทีตาถล่มทลายกลายเป็นทะเลสาบกว้างใหญ่ คือ ทะเลสาบหนองหาร ในปัจจุบัน ผู้คนในเมืองที่กินเนื้อกระรอกต่างล้มตายหมดสิ้น  ส่วนนางไอ่นั้นได้แหวนวิเศษของสุวรรณภังคีไว้จึงรอดชีวิตจากฤทธิ์พญานาค ท้าวผาแดงพานางไอ่ขึ้นมาหลังม้าหนีมุ่งหน้าไปเมืองผาโพง  ระหว่างทางแผ่นดินก็ถล่มลงเรื่อยๆ จนนางไอ่พลัดตกลงจากหลังม้า  และเสียชีวิตโดยท้าวผาแดงมาช่วยไว้ไม่ทัน  ท้าวผาแดงจึงต้องเดินทางกลับไปเมืองผาโพงตามลำพัง
ดังนั้น งานเซิ้งบั้งไฟเป็นงานสนุกสนานงานหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงเป็นงานที่เกี่ยวเนื่องมาจากการจุดบ้องไฟเพื่อช่วงชิง นางไอ่ไปเป็นคู่ครอง และต่อมาได้มีการปฏิบัติกันเป็นประเพณีประจำปี และรักษากันไว้จนทุกวันนี้

สร้างโดย: 
NAR.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 182 คน กำลังออนไลน์