• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5fe559925f118405a218aad745a1d109' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"271\" width=\"600\" src=\"/files/u30440/777.jpg\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89945\">ความร้อน</a> <a href=\"/node/89952\">กลไกการถ่ายเทความร้อน</a> <a href=\"/node/89948\">อุณหภูมิ </a><a href=\"/node/89946\">พลังงาน</a>  <a href=\"/node/89958\">เครื่องมือ</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"background-color: #ffcc99; color: #800000\">องศาฟาเรนไฮต์</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"background-color: #ffcc99; color: #800000\"></span><br />\n</strong><span style=\"color: #800000\">   ในปี ค.ศ.1714 กาเบรียล ฟาเรนไฮต์ (Gabrial Fahrenheit) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เทอร์มอมิเตอร์ซึ่งบรรจุปรอทไว้ในหลอดแก้ว เขาพยายามทำให้ปรอทลดต่ำสุด (0?F) โดยใช้น้ำแข็งและเกลือผสมน้ำ เขาพิจารณาจุดหลอมละลายของน้ำแข็งเท่ากับ 32?F และจุดเดือดของน้ำเท่ากับ 212?F</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #800000\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<strong><span style=\"background-color: #ffcc99\">องศาเซลเซียส</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"background-color: #ffcc99\"></span><br />\n</strong>   ในปี ค.ศ.1742 แอนเดอส์ เซลเซียส (Anders Celsius) นักดาราศาสตร์ชาวสวีเดน ได้ออกแบบสเกลเทอร์มอมิเตอร์ให้อ่านได้ง่ายขึ้น โดยมีจุดหลอมละลายของน้ำแข็งเท่ากับ 0?C และจุดเดือดของน้ำเท่ากับ 100?C<br />\nเคลวิน (องศาสัมบูรณ์) <br />\nต่อมาในคริสศตวรรษที่ 19 ลอร์ด เคลวิน (Lord Kelvin) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ผู้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่าง<br />\nความร้อนและอุณหภูมิว่า ณ อุณหภูมิ -273?C อะตอมของสสารจะไม่มีการเคลื่อนที่ และจะไม่มีสิ่งใดหนาวเย็นไปกว่านี้ได้อีก เขาจึงกำหนดให้ 0 K = -273?C (ไม่ต้องใช้เครื่องหมาย ? กำกับหน้าอักษร K) สเกลองศาสัมบูรณ์หรือเคลวิน เช่นเดียวกับองศาเซลเซียสทุกประการ เพียงแต่ +273 เข้าไป เมื่อต้องการเปลี่ยนเคลวินเป็นเซลเซียส\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ff9900; color: #800000\"><a href=\"/node/89950\">ความสัมพันธ์ของสเกลอุณหภูมิ</a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- <a href=\"/node/89942\"><img height=\"90\" width=\"175\" src=\"/files/u41084/lesson.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n', created = 1719631102, expire = 1719717502, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5fe559925f118405a218aad745a1d109' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สเกลอุณหภูมิ

 

ความร้อน กลไกการถ่ายเทความร้อน อุณหภูมิ พลังงาน  เครื่องมือ

 

องศาฟาเรนไฮต์


   ในปี ค.ศ.1714 กาเบรียล ฟาเรนไฮต์ (Gabrial Fahrenheit) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เทอร์มอมิเตอร์ซึ่งบรรจุปรอทไว้ในหลอดแก้ว เขาพยายามทำให้ปรอทลดต่ำสุด (0?F) โดยใช้น้ำแข็งและเกลือผสมน้ำ เขาพิจารณาจุดหลอมละลายของน้ำแข็งเท่ากับ 32?F และจุดเดือดของน้ำเท่ากับ 212?F


องศาเซลเซียส


   ในปี ค.ศ.1742 แอนเดอส์ เซลเซียส (Anders Celsius) นักดาราศาสตร์ชาวสวีเดน ได้ออกแบบสเกลเทอร์มอมิเตอร์ให้อ่านได้ง่ายขึ้น โดยมีจุดหลอมละลายของน้ำแข็งเท่ากับ 0?C และจุดเดือดของน้ำเท่ากับ 100?C
เคลวิน (องศาสัมบูรณ์)
ต่อมาในคริสศตวรรษที่ 19 ลอร์ด เคลวิน (Lord Kelvin) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ผู้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่าง
ความร้อนและอุณหภูมิว่า ณ อุณหภูมิ -273?C อะตอมของสสารจะไม่มีการเคลื่อนที่ และจะไม่มีสิ่งใดหนาวเย็นไปกว่านี้ได้อีก เขาจึงกำหนดให้ 0 K = -273?C (ไม่ต้องใช้เครื่องหมาย ? กำกับหน้าอักษร K) สเกลองศาสัมบูรณ์หรือเคลวิน เช่นเดียวกับองศาเซลเซียสทุกประการ เพียงแต่ +273 เข้าไป เมื่อต้องการเปลี่ยนเคลวินเป็นเซลเซียส

ความสัมพันธ์ของสเกลอุณหภูมิ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สร้างโดย: 
นางสาวจิระพัฒน์ มนตรีเศวกกุล / อาจารย์ธนพล กลิ่นเมือง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 272 คน กำลังออนไลน์